พระพิฆเณศ
อินเดีย ประเทศอินเดีย รูปพระพิฆเนศ รูปภาพ งานศิลปะ พระพิฆเนศ
คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรกพระพิฆเนศ

"นิกายไวษณวะ / ไวษณพนิกาย"
ขอขอบพระคุณ : หนังสือ "ศาสนาโลก"
เขียนโดย ธนู แก้วโอภาส / สำนักพิมพ์สุขภาพใจ

ไวษณพนิกาย

นิกายนี้นับถือ พระวิษณุ ว่าเป็นเทพเจ้าองค์สูงสุด โดยนับถือปางต่างๆ ทั้ง 10 ปางของพระวิษณุ (หรือพระนารายณ์ 10 ปาง) ที่อวตารจุติ เทพีลักษมีมเหสีของพระวิษณุ พญาครุฑพาหนะของพระวิษณุและหนุมานวานรเทพ ซึ่งเชื่อว่าได้ช่วยเหลือพระราม (ในรามเกียรติ์) ในการรบกับราวณะ (ทศกัณฐ์) ผู้นับถือศาสนาฮินดูลัทธิไวษณวะจึงให้การเคารพนับถือ รอยเจิมที่หน้าผากของชาวฮินดูเป็นจุจ 3 จุด เป็นเครื่องหมายแสดงถึงการเคารพพระวิษณุ ชาวฮินดูภาคใต้ของอินเดียทาร่างกายของตนไว้เพื่อแสดงถึงนิกายที่ตนนับถือ

นิกายไวษณวะ นี้มีอิทธิพลมากที่สุดในอินเดียภาคเหนือ และในบริเวณชายฝั่งทะเลตะวันตกของนครบอมเบย์ การเคารพพระวิษณุหรือพระนารายณ์มีแนวโน้มทางปฏิบัติตาม ลัทธิภักดี (การเสียสละ) มากกว่าการ เข้าฌาน (ซึ่งเป็นแนวทางปฏิบัตของลัทธิไศวะ) โดยทั่วๆไปในลัทธิไวษณวะมีเป้าหมายเพื่อสร้างความอุดมสมบูรณ์ให้กับชีวิต ไม่มีการใช้ชีวิตสัตว์บูชา พระวิษณุมีความเชื่อมั่นในการดำรงชีวิตในแนวทางที่ดี ลัทธินี้มีความเห็นตรงกันข้ามกับลัทธิสอนการบำเพ็ญตบะเพื่อความหลุดพ้นของไศวะนิกาย

นิกายไวษณวะ แบ่งย่อยๆ เป็นอีกหลายนิกายด้วยกัน เช่น นิกายรามาณุช เป็นนิกายสถาปนาโดย รามาณุช ซึ่งเป็นพราหมณ์ทางภาคใต้ของชาวอินเดีย ท่านผู้นี้ไม่ยอมเชื่อเรื่อง ลัทธิเอกนิยมสมบูรณ์ (Absolute Monism) ของสำนัก สังคาราจริยะ โดยสอนปรัชญาแห่งการเสียสละเพื่อพระเจ้า นิกายนี้ปฏิเสธเรื่องการแบ่งชนชั้นวรรณะ แล้วยืนยันว่าผู้ที่ให้การเคารพต่อพระวิษณุโดยการภักดี จะทำให้ระบบวรรณะในสังคมของอินเดียสลายตัว และพระเจ้าย่อมทรงพอพระทัยในการไม่มีระบบชนชั้นอยู่ในบรรดาผู้ที่ให้ความนับถือพระองค์ อิทธิพลคำสอนของรามาณุชส่วนใหญ่มีเฉพาะบริเวณภาคใต้ของอินเดีย รามาณุชถึงแก่กรรมในศตวรรษที่ 12 แต่สาวกของเขาชื่อ รามานัดดา ได้ปรับปรุงคำสอยของรามาณุชเผยแพร่ในอินเดียภาคเหนือ

นักปฏิรูปนิกายไวษณวะอีกท่านและจัดตั้งนิกายขึ้นมาอีกนิกายหนึ่ง คือ มธวะจริยะ เป็นพราหมณ์อยู่ในบริเวณชายฝั่งมาลาบาร์ อิทธิพลคำสอนของท่านผู้นี้มีมากในบริเวณใต้สุดของอินเดีย ท่านผู้นี้สอนถึง สภาพความเป็นจริงของแต่ละบุคคล (ชีวาตมัน) กับเรื่อง วิญญาณสูงสุด (ปรมาตมัน) และสอนว่าวิญญาณทั้ง 2 นี้ ไม่สามารถรวมเข้ากันได้ คำสอนของท่านผู้นี้คล้ายกับคำสอนในศาสนาคริสต์ มัธวะจริยะสนับสนุนเรื่องระบบชั้นวรรณะของฮินดู แต่คำสอนของเขาในเรื่อง ทวิสภาวะ (Daulity) คือสภาพของชีวาตมันกับปรมาตมัน ได้รับความนิยมมากในบรรดาชนวรรณะต่ำของสังคมอินเดีย

ในแคว้นแบงกอล มีศาสดาในลัทธิไวษณวะอีกท่านหนึ่งชื่อ ไชยธัญญะ ท่านผู้นี้เกิดในศตวรรษที่ 14 เป็นผู้ที่สนับสนุนลัทธิภักดีและนับถือ พระกฤษณะ ซึ่งเป็นปางที่ 8 ของพระวิษณุอวตารลงมาจุติเป็นสารถีรถศึกให้ พระอรชุน ในมหากาพย์ มหาภารตะ การที่ศาสดาผู้นี้เคารพพระกฤษณะทำให้ท่านผู้นี้สนับสนุนลัทธิ รัฐ-กฤษณะ ซึ่งเป็นลัทธิของความสัมพันธ์ระหว่างวิญญาณกับพระเจ้า

อิทธิพลในคำสอนของไชยธัญญะไม่เพียงมีอยู่ในแคว้นแบงกอลเท่านั้น ในวิหารแห่งชคันนาธในรัฐโอริสสา ซึ่งครั้งหนึ่งไชยธัญญะเคยพำนักอยู่ ที่นี่เต็มไปด้วยอิทธิพลของไชยธัญญะ ในมธุราบ้านเกิดของพระกฤษณะและเป็นบ้านของลัทธิรัฐกฤษณะก็อยู่ภายใต้อิทธิพลคำสอนของไชยธัญญะเช่นกัน

มีนิกายในลัทธิไวษณวะอีกนิกายหนึ่งชื่อนิกาย มหาราชา เป็นนิกายขยายความลัทธิรัฐ-กฤษณะให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น นิกายนี้สถาปนาโดย วัลภาจริยะ นิกายนี้นับถือบุคคลที่เรียกว่ามหาราชา โดยเชื่อว่าคือผู้มีชีวิตของพระกฤษณะอยู่ในพระองค์ ต่อมาสวามีนารายณ์ปรับปรุงนิกายนี้ให้ก้าวหน้ายิ่งขึ้น

ถึงแม้ว่าลัทธิหรือนิกายไวษณวะจะแบ่งย่อยๆ ออกเป็นอีกหลายนิกายก็ตาม แต่ก็มีจุดร่วมอยู่ด้วยกัน ในเรื่องการนับถือ พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์สิบปาง เป็นเทพเจ้าสูงสุด ลัทธิไวษณวะเกิดขึ้นมาเมื่อประมาณ พ.ศ.1300 ผู้สถาปนาลัทธิอันยิ่งใหญ่นี้คือ นาถมุนี

อ่านเรื่อง "พระวิษณุ" เพิ่มเติมได้ที่นี่

ขอขอบพระคุณ : บทความจาก "ศาสนาโลก"
เขียนโดย ธนู แก้วโอภาส
สำนักพิมพ์สุขภาพใจ

คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรกประเทศอินเดียและพระพิฆเนศ


---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม ----------------
หน้าแรก-องค์เทพ (สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง

, พระศิวะ พระอิศวร , พระราม รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค

พระแม่อุมาเทวี เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี ,
พระแม่สรัสวตี พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี ,
พระขันทกุมาร การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน ,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ

ท้าวจตุโลกบาล - เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ ,
ท้าวเวสสุวัณ ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี , พระแม่โพสพ

--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
,
ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก , เสาชิงช้า
,
พระพิฆเนศนครนายก พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
,
พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง 3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ

- พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
- พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
- พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
- รวมรูปองค์เทพ | - รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | - รวมความรู้การบูชาองค์เทพ

โครงการ "พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย

ศาลพระพิฆเณศวร์ เทวาลัยพระศิวะ วัดแขก โบสถ์พราหมณ์ เทวสถาน | เทวาลัยพระวิษณุ ศาลพระพรหม วัดแขก พระแม่อุมาเทวี

----------------- เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
- "คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์ วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
- "นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
- "มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
- "ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
- "พระราชพิธีตรียัมปวาย" งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์ แผนที่โบสถ์พราห์ม
, พระราชพิธีแรกนาขวัญ งานแรกนาขวัญ

[ การบูชาเทพเจ้า ]
- รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ


- ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
- เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา | - เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ

- สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์ | - ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
- ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
- ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก | - ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
- พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้ | - พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
- พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี | - อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
- คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก

- การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
- บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ | - พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
- พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ | - พญานาค การบูชาองค์พญานาค | - ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
- รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี การบูชาพระแม่อุมาเทวี | - องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
- พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ | - องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี

- ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
- การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า | - พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
- ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
- พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ | - การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
- เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม พระแม่กวนอิมปางต่างๆ

[ พระศิวะมหาเทพ ]
1. ตำนานพระศิวะ | 2. รูปลักษณ์ แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ  |  3. เมล็ดรุทรักษะ เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4. โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ สัตว์ศักดิ์สิทธิ์  |  5. ศิวะนาฏราช พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6. ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ การบูชาศิวลึงค์  |  7. คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ

[ พระประจำวันเกิด , นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์ 
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์  , พระประจำวันเสาร์ พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ

รวมโองการเชิญเทพ / บทไหว้ครู / กลอนไหว้ครูของไทย
สำหรับผู้ศรัทธาในเทพทุกระดับชั้น เพื่อการบวงสรวงบูชาเทพในพิธีอันเป็นสิริมงคลต่างๆ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ ขอพรพระคเณศ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ บทเสมาสามัคคีเสวก
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 1
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 2
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 3
นมัสการเทพ (สามัคคีประเภทคำฉันท์)
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 1
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 2
เชิญเทพ - ร.6 (เสื้อเมือง หลักเมือง)
เชิญเทพ - รัชกาลที่ 6 (ทวยเทพ)
โองการเชิญเทพ - บวงสรวงท้าวโลกบาล
บทอัญเชิญเทพประจำเมือง



อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ และ นักเขียนหนังสือองค์เทพ







อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ Siamganesh.com
ผู้เผยแพร่ความรู้ในการบูชาองค์เทพคนสำคัญของไทย

สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่




สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่









สั่งซื้อหนังสือ
ผลงาน อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
คลิกที่นี่



ติดต่อสยามคเณศได้ที่ siamganesh@gmail.com
Facebook : สยามคเณศดอทคอม
Facebook : มหาบูชา
ขออำนาจแห่งพระคเณศวรโปรดดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายล้วนประสบแต่ความสำเร็จในทุกๆประการด้วยเทอญ
สงวนลิขสิทธิ์ SiamGanesh.com, All Rights Reserved.