|
คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรกพระพิฆเนศ |
ทำไมต้องเป็นช้าง?
และเรื่องราวเกี่ยวกับช้างศักดิ์สิทธิ์ |
|
พระเศียรของพระพิฆเณศ
ยังสื่อให้เห็นคุณสมบัติที่พระองค์ทรงร่วมแบ่งปันกับช้างโดยทั่วไป
แต่แม้จะมีตำนานมากมาย ที่บรรยายขั้นตอนการชุบชีวิตพระพิฆเณศด้วยเศียรช้าง
แต่ก็ไม่มีตำนานเรื่องใดที่สามารถอธิบายได้อย่างชัดเจนว่า
ทำไมพระเศียรของพระพิฆเณศจึงต้องเป็นเศียรช้าง ทำไมไม่เป็นศีรษะของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
อย่างไรก็ตาม คำอธิบายที่น่าจะมีความเป็นไปได้มากที่สุดก็คือ
ช้าง คือสัตว์ศักดิ์สิทธิ์ของชาวอินเดียสมัยโบราณ
ดังจะเห็นได้จากพิธีกรรมบูชาช้าง และพิธีฝังศพช้าง ที่ชาวอินเดียในยุคโบราณจัดให้อย่างยิ่งใหญ่และด้วยความเคารพ
จึงเชื่อกันว่า ด้วยความที่ ช้าง เป็นสิ่งมีชีวิตที่ชาวอินเดียยุคโบราณยกย่องให้เป็นสัตว์ศักดิ์สิทธิ์นี้เอง
นอกจากนี้ รูปร่างที่ใหญ่โตของช้าง ยังเป็นแรงบันดาลใจให้มีการแปลความหมาย
ในด้านของพลังที่ยิ่งใหญ่ มาตลอดทุกยุคทุกสมัย จนชาวอินเดียให้การเคารพบูชา
และถือเป็นสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์ในด้านพลังอำนาจ ความมั่นคงและการปกป้องคุ้มครอง
นอกจากนี้ ช้าง ยังถูกนำเสนอร่วมกับสัตว์อื่นๆ
ในตำราศาสนา ในตราเครื่องหมายประจำตัวหรือประจำตำแหน่ง
รวมไปถึงการสักการะบูชาเฉพาะงา เฉพาะพระพักต์และงวง ซึ่งดูเหมือนจะช่วยบรรยายถึงความศักดิ์สิทธิ์
ของเทพที่มีเศียรเป็นช้างองค์นี้ มาตั้งแต่ยุคที่ คัมภีร์พระเวท
อยู่ในช่วงเจริญรุ่งเรือง
|
|
การบูชาช้าง ยังคงมีให้เห็นอยู่ทั่วไปจนถึงช่วงสิ้นสุดสหัสวรรษแรก
เมื่ออเล็กซานเดอร์มหาราชกับบรรดาผู้ว่าการรัฐ (ซึ่งเป็นชาวเปอร์เซีย)
ของเขาให้การยกย่องและเคารพบูชาเทพแห่งไอยราองค์นี้ ดังจะเห็นได้จากบันทึกของนักเขียนกรีกหลายคนในยุคนั้น
พาดพิงถึงช้างที่เก่าแก่มากเชือกหนึ่งที่อยู่ในเมืองตักศิลา
ซึ่งว่ากันว่าเคยเป็นสมบัติของกษัตริย์โพรัสแห่งอาณาจักรอินเดีย
และว่ากันว่าช้างเชือกนี้เป็นที่สักการะบูชาของชาวอินเดียท้องถิ่น
โดยเครื่องสักการะนั้นมักได้แก่สมุนไพรที่มีกลิ่นหอมและได้รับการประดับด้วยอัญมณี
ในขณะที่ทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ชาวบ้านท้องถิ่นแถบนั้น
มักบูชาภูเขาที่มีรูปร่างเหมือนช้างในฐานะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ปัดเป่าคุ้มกันภัยให้แก่ชาวบ้าน
หรือนักท่องเที่ยวที่ให้การเคารพบูชา |
ตำนานจำนวนมากมายของชาวพุทธจาตากะ นำเสนอเรื่องราวของช้างในฐานะที่ช้างเป็นสิ่งมีชีวิตทีทรงคุณธรรมที่สุด
ภักดีที่สุด ฉลาด สุขุมรอบคอบ และเปี่ยมล้นไปด้วยความรักความเอื้ออาทร
ซึ่งจริงๆแล้ว คุณสมบัติเหล่านี้ ถือเป็นคุณสมบัติศักดิ์สิทธิ์
และได้รับการยกย่องให้เป็นคุณสมบัติที่มีความสัมพันธ์กับแนวคิดในเรื่องพุทธะอย่างใกล้ชิดแนบแน่น
กล่าวคือ เมื่อพระโพธิสัตว์ทรงตัดสินพระทัยจะเสด็จลงจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่ออวตารลงมาบนโลกมนุษย์ในฐานะของโคตมะ
พระองค์ก็ทรงเลือกอวตารลงมาในรูปของช้างเผือกลี้ลับ และเสด็จเข้าไปประทับอยู่ในพระครรภ์ของราชินีมายา
หัตถยายุรเวดา (Hastyayurveda) ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่บอกเล่าเรื่องราวความฉลาดและมีอายุยืนยาวของช้าง
กล่าวเตือนไว้ว่า หากช้างไม่ได้รับการยกย่องบูชา กษัตริย์
กองทัพ และอาณาจักรของพระองค์จะได้รับความวิบัติหายนะ
แต่หากช้างได้รับการยกย่อง ประเทศจะมีแต่ความเจริญรุ่งเรือง
อินทราจะบันดาลให้เกิดฝนอย่างอุดมสมบูรณ์ พืชไร่จะเจริญงอกงามตามฤดูกาล
ไร้โรคระบาดและไร้ความแห้งแล้ง
ในศิลปะและในวรรณกรรม ช้างมักได้รับการบรรยายให้เป็นน้ำ
ซึ่งความสัมพันธ์ในแง่นี้มีปรากฏให้เห็นคำบรรยายที่เกียวพันกับเทพธิดาลักษมี
ที่ทรงสรงน้ำที่เทออกจากเหยือกทองคำที่ช้างสวรรค์จับไว้ด้วยงวง
นอกจากนี้ สัญลักษณ์ที่เป็นตัวแทนของน้ำนี้ ได้รับการขยายให้กว้างไกล
ด้วยบทกวีที่เปรียบเทียบให้ช้างเป็นเมฆฝน ซึ่งสนับสนุนและทำให้มองเห็นได้ว่า
พระพิฆเณศเป็นเทพที่มีชื่อเสียงมากในเรื่องของความอุดมสมบูรณ์และความเจริญงอกงาม
|
ขอขอบคุณ : หนังสือตำนานพระพิฆเนศ
เขียนโดย : ศักดิ์ บวร / ราคาเล่มละ 114 บาท
สำนักพิมพ์ : สมิต / หาซื้อได้ตามร้านหนังสือชั้นนำทั่วไป
หนังสือเล่มนี้ จะนำเสนอเรื่องราวของมหาเทพพิฆเนศ
ในหลายๆแง่มุม ทั้งประวัติความเป็นมา คติการนับถือในแต่ละภูมิภาคของแต่ละประเทศ
รูปลักษณ์และการบูชา ปัจจัยที่เชื่อมโยงเกี่ยวข้องกับการนับถือในรูปแบบต่างๆ
การวิเคราะห์อุปนิสัย พระกิริยามารยาทของพระพิฆเนศ
คุณธรรมและสติปัญญาอันเลิศล้ำ |
โฆษณาหนังสือฟรี!!!
สำหรับสำนักพิมพ์ที่ต้องการโปรโมทหนังสือเกี่ยวกับเทพในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู
ติดต่อได้ที่ siamganesh@gmail.com |
----------------
อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม
----------------
หน้าแรก-องค์เทพ
(สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม
ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ
พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง
, พระศิวะ
พระอิศวร , พระราม
รามเกียรติ์ รามายณะ
,
พระกฤษณะ
ภควัทคีตา มหาภารตะ
,
ครุฑ
พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค
พระแม่อุมาเทวี
เจ้าแม่อุมาเทวี ,
พระแม่กาลี
เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา
เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ
การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี
เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี
,
พระแม่สรัสวตี
พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี
,
พระขันทกุมาร
การบูชาพระขันธกุมาร
,
หนุมาน
พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน
,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
ท้าวจตุโลกบาล
- เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ
,
ท้าวเวสสุวัณ
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา
แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี
, พระแม่โพสพ
--------- สถานที่
ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร
วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ
ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ
พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
, ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง
พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก
, เสาชิงช้า
, พระพิฆเนศนครนายก
พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
, พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา
พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี
สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ
สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร
ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง
3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ
-
พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน
จ.ฉะเชิงเทรา
-
พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม
พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
-
พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย
อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ
8 แห่ง
-
รวมรูปองค์เทพ | -
รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | -
รวมความรู้การบูชาองค์เทพ
โครงการ
"พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย
-----------------
เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
-
"คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์
วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
-
"นวราตรี" งานวัดแขก
งานแห่พระแม่อุมาเทวี ร่างทรงพระแม่อุมา
งานนวราตรี
-
"มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี
วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
-
"ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี
เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
-
"พระราชพิธีตรียัมปวาย"
งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์
แผนที่โบสถ์พราห์ม ,
พระราชพิธีแรกนาขวัญ
งานแรกนาขวัญ
[ การบูชาเทพเจ้า
]
-
รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ
วิธีบูชาองค์เทพ
-
ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
-
เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม
และวิธีการสวดบูชา | -
เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ
-
สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ
การบูชาพระพิฆเณศวร์ | -
ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
-
ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
-
ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก
| -
ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
-
พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้
| -
พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
-
พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี
| -
อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
-
คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี
เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก
-
การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์
โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
-
บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ
| -
พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
-
พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ
| -
พญานาค การบูชาองค์พญานาค |
-
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
-
รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี
การบูชาพระแม่อุมาเทวี | -
องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
-
พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ
องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ
| -
องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี
-
ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ
| -
พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ
| -
การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
-
การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า
| -
พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
-
ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
-
พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ
| -
การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
-
เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม
พระแม่กวนอิมปางต่างๆ
[ เรื่องร่างทรง
]
เรื่องร่างทรง
1
- เตือนใจเรื่องร่างทรง
มารสังคมที่ต้องระวัง (รับขันธ์ ร่างทรง
ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
2
- คนมีองค์ กับ ร่างทรง ต่างกันอย่างไร
? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์
องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
3
- ร่างทรงกำลังทรงเจ้า หรือกำลังโดนผีสิง
? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์
องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
4
- การรับขันธ์ อันตรายถึงชีวิต! (รับขันธ์
ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
5
- ตอบคำถามร่างทรง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง
มีองค์ คนมีองค์ การทรงเจ้า องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
6 -
ถอนขันธ์ ลาขันธ์ (การรับขันธ์ ร่างทรง
ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้าองค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
7 -
รวมข่าวร่างทรงถูกจับ (การรับขันธ์ ร่างทรง
ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้า องค์เทพ)
[ พระศิวะมหาเทพ
]
1.
ตำนานพระศิวะ | 2.
รูปลักษณ์
แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ
| 3.
เมล็ดรุทรักษะ
เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4.
โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ
สัตว์ศักดิ์สิทธิ์
| 5.
ศิวะนาฏราช
พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6.
ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ
การบูชาศิวลึงค์
| 7.
คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ
[ พระประจำวันเกิด
, นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์
พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์
พระจันทร์
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร
พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน
พระพุธ
พระราหู
การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู
พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี
พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์
, พระประจำวันเสาร์
พระประจำวันเกิด พระเสาร์ ,
พระเกตุ
|
|
|
|
|
|