พระพิฆเณศ
รูปพระพิฆเนศ
คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรกพระพิฆเนศ
ฮินดูในประเทศไทย / พิธีกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคนไทย
ขอขอบคุณ : Sriganapati.com และ Thaifolk.com

ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมไทยนั้นคือช่วงที่เป็น ศาสนาพราหมณ์ โดยเข้ามายังประเทศไทยเมื่อใดนั้น ไม่ปรากฏระยะเวลาที่แน่นอน นักประวัติศาสตร์ส่วนมากสันนิษฐานว่า ศาสนาพราหมณ์นี้ น่าจะเข้ามาก่อน สมัยสุโขทัย โบราณสถานและรูปสลักเทพเจ้าเป็นจำนวนมาก ได้แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของศาสนา เช่น

รูปสลักพระนารายณ์ 4 กร ถือสังข์ จักร คทา ดอกบัว สวมหมวกกระบอก เข้าใจว่าน่าจะมีอายุประมาณพุทธศตวรรษที่ 9-10 หรือเก่าไปกว่านั้น (ปัจจุบันอยู่ที่พิพิธภัณฑ์กรุงเทพฯ)

นอกจากนี้ได้พบ รูปสลักพระนารายณ์ทำด้วยศิลา ที่ อำเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี โบราณสถานที่สำคัญที่ขุดพบ เช่น ปราสาทพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ / ปราสาทหินพิมาย จังหวัดนครราชสีมา / พระปรางค์สามยอด จังหวัดลพบุรี / เทวสถานเมืองศรีเทพ จังหวัดเพชรบูรณ์

ในสมัยสุโขทัย ศาสนาพราหมณ์ได้เข้ามามีบทบาทมากขึ้น ควบคู่ไปกับพุทธศาสนาในสมัยนี้มีการค้นพบเทวรูป พระนารายณ์ พระอิศวร พระพรหม พระแม่อุมา พระหริหระ ซึ่งส่วนมากนิยมหล่อสำริด

นอกจากหลักฐานทางศิลปกรรมแล้ว ในด้านวรรณคดี ได้แสดงให้เห็นถึงความเชื่อของศาสนาพราหมณ์ เช่น ตำหรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์หรือนางนพมาศ หรือแม้แต่ ประเพณีลอยกระทง เพื่อขอขมาลาโทษพระแม่คงคา ก็ได้อิทธิพลมาจากศาสนาพราหมณ์เช่นกัน

ในสมัยอยุธยา เป็นสมัยที่ศาสนพราหมณ์เข้ามามีอิทธิพลทางวัฒนธรรมประเพณีเช่นเดียวกับสุโขทัย พระมหากษัตริย์หลายพระองค์ทรงยอมรับพิธีกรรมที่มีศาสนาพราหมณ็เข้ามามีส่วน เช่น พิธีแช่งน้ำ พิธีทำน้ำอภืเษกก่อนขึ้นครองราชสมบัติ พิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีจองเปรียง พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีตรียัมปวาย เป็นต้น

โดยเฉพาะ สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทรงนับถือทางเทวศาสตร์มาก ถึงขนาดทรงสร้างเทวรูปกุ้มด้วยทองคำทรงเครื่อง ลงยาราชาวดี สำหรับตั้งในการพระราชพิธีหลายองค์ ในพิธีตรียัมปวาย พระองค์ได้เสด็จไปส่งมหาเทพถึงเทวสถานทุกๆ ปี


ต่อมาในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น พิธีต่างๆ ในสมัยอยุธยา ยังคงได้รับการยอมรับนับถือจากพระมหากษัตริย์และปฏิบัติต่อกันมา ซึ่งมีดังนี้ คือ

1. พระราชพิธีบรมราชาภิเษก
พระราชพิธีนี้มีความสำคัญ เพราะเป็นการเทิดพระเกียรติขององค์พระประมุข พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ได้โปรดเกล้าฯ ให้ผู้รู้แบบแผนครั้งกรุงเก่าทำการค้นคว้า เพื่อจะได้สร้างแบบแผนที่สมบูรณ์ตามแนวทางแต่เดิมมา ในสมัยกรุงศรีอยุธยาและเพิ่มพิธีสงฆ์เข้าไป

2. การทำน้ำอภิเษก
พระมหากษัตริย์ที่จะเสด็จขึ้นเถลิงถวัลย์ราชสมบัติบรมราชาภิเษก จะต้องสรงพระมุรธาภิเษก และทรงรับน้ำอภิเษกก่อนได้รับการถวายสิริราชสมบัติตามตำราพราหมณ์ น้ำอภิเษกนี้ใช้น้ำจากปัญจมหานที คือ คงคา ยมุนา มหิ อจิรวดี และสรภู ซึ่งทำเป็นน้ำที่ไหลมาจากเขาไกรลาส อันเป็นที่สถิตย์ของพระศิวะ

สมัยรัตนโกสินทร์ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 4 ใช้น้ำ 4 สระในเขตสุพรรณ คือ สระเกษ สระแก้ว สระคงคา และ สระยมุนา และได้เพิ่มน้ำจากแม่น้ำสำคัญในประเทศ 5 สาย คือ

- น้ำในแม่น้ำบางปะกง ตักที่บึงพระอาจารย์ แขวงนครนายก
- น้ำในแม่น้ำป่าสัก ตักที่ตำบลท่าราบ เขตสระบุรี
- น้ำในแม่น้ำเจ้าพระยา ตักที่ตำบลบางแก้ว เขตอ่างทอง
- น้ำในแม่น้ำราชบุรี ตักที่ตำบลดาวดึงส์ เขตสมุทรสงคราม
- น้ำในแม่น้ำเพชรบุรี ตักที่ตำบลท่าไชย เขตเมืองเพชรบุรี

3. พระราชพิธีจองเปรียง (เทศกาลลอยกระทง)
คือ การยกโคมตามประทีปบูชาเทพเจ้าตรีมูรติ กระทำในเดือนสิบสองหรือเดือนอ้าย โดยพราหมณ์เป็นผู้ทำพิธีในพระบรมมหาราชวัง พระราชครูฯ ต้องกินถั่วกินงาน 15 วัน ส่วนพราหมณ์อื่นกินคนละ 3 วัน ทุกเช้าต้องถวายน้ำมหาสังข์ ทุกวันจนถึงลดโคมลง

ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 4 ได้ทรงโปรดให้เพิ่มพิธีพุทธศาสนาเข้ามาด้วย โดยโปรดให้มีสวดมนต์เย็นแล้วฉันเช้า อาลักษณ์อ่านประกาศพระราชพิธี จากนั้นแผ่พระราชกุศลให้เทพยดาพระสงฆ์เจริญพุทธมนต์ต่อไป จนได้ฤกษ์แล้วทรงหลั่งน้ำสังข์และเจิม เสาโคมชัย จึงยกโคมขึ้น ซึ่งเสาโคมชัยนี้ ที่ยอดมีฉัตรผ้าขาว 9 ชั้น โคมประเทียบ 7 ชั้น ตลอดเสาทาน้ำปูนขาว มี หงส์ติดลูกกระพรวน นอกจากนี้ มีเสาโคมบริวารประมาณ 100 ต้น ยอดฉัตรมีผ้าขาวสามชั้น

4. พระราชพิธีตรียัมปวาย (โล้ชิงช้า ณ เสาชิงช้า)
เป็นพิธีส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ของพราหมณ์ เชื่อกันว่าเทพเจ้าเสด็จมาเยี่ยมโลกทุกปีจึงจัดพิธีต้อนรับให้ใหญ่โตเป็นพิธีหลงงที่มามานานแล้ว ในสมัยรัตนโกสินทร์ได้จัดกันอย่างใหญ่โตมาก กระทำพระราชพิธีนี้ที่เสาชิงช้าหน้าวัดสุทัศน์ ชาวบ้านเรียกพิธีนี้ว่า "พิธีโล้ชิงช้า" พิธีนี้กระทำในเดือนอ้าย ต่อมาเปลี่ยนเป็นเดือนยี่

5. พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ (พืชมงคล)
แต่เดิมมาเป็นพิธีพราหมณ์ ภายหลังได้เพิ่มพิธีสงฆ์เข้าไปด้วย จึงทำให้ในพิธีแบ่งออกเป็น 2 ตอน คือ
พิธีพืชมงคล เป็นพิธีสงฆ์เริ่มตั้งแต่การนำพันธ์พืชมาร่วมพิธี พระสงฆ์สวดมนต์เย็นที่ท้องสนามหลวง จนกระทั่งรุ่งเช้ามีการเลี้ยงพระ
พิธีจรดพระนังคัล เป็นพิธีของพราหมณ์ จะกระทำในตอนบ่าย

ความเชื่อในพระเป็นเจ้าตรีมูรติทั้ง 3 องค์ (พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ) ยังคงมีอิทธิพลควบคู่ไปกับการนับถือพุทธศาสนา ประกอบกับในโบสถ์ของชาวฮินดูมักจะตั้งพระพุทธรูปรวมกันกับรูปปั้นของมหาเทพ ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากความเชื่อในเรื่องอวตารของพระวิษณุ ทำให้คนไทยที่นับถือพุทธศาสนา นิยมมาสวดอ้อนวอนขอพรและบนบานต่อมหาเทพ เช่น การบนบานต่อพระพรหม หลายคนก็เข้าร่วมพิธีกรรมของฮินดู จึงเรียกได้ว่ามีผู้คนจำนวนมากที่นับถือทั้งพุทธ ทั้งฮินดู ปนเปกันไปแบบ นิกายพุทธตันตระ

ขอขอบคุณ : Sriganapati.com และ Thaifolk.com


คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรกประเทศอินเดีย ศาสนาฮินดู และพระพิฆเนศ


---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม ----------------
หน้าแรก-องค์เทพ (สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง

, พระศิวะ พระอิศวร , พระราม รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค

พระแม่อุมาเทวี เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี ,
พระแม่สรัสวตี พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี ,
พระขันทกุมาร การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน ,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ

ท้าวจตุโลกบาล - เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ ,
ท้าวเวสสุวัณ ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี , พระแม่โพสพ

--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
,
ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก , เสาชิงช้า
,
พระพิฆเนศนครนายก พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
,
พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง 3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ

- พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
- พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
- พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
- รวมรูปองค์เทพ | - รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | - รวมความรู้การบูชาองค์เทพ

โครงการ "พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย

ศาลพระพิฆเณศวร์ เทวาลัยพระศิวะ วัดแขก โบสถ์พราหมณ์ เทวสถาน | เทวาลัยพระวิษณุ ศาลพระพรหม วัดแขก พระแม่อุมาเทวี

----------------- เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
- "คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์ วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
- "นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
- "มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
- "ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
- "พระราชพิธีตรียัมปวาย" งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์ แผนที่โบสถ์พราห์ม
, พระราชพิธีแรกนาขวัญ งานแรกนาขวัญ

[ การบูชาเทพเจ้า ]
- รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ


- ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
- เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา | - เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ

- สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์ | - ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
- ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
- ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก | - ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
- พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้ | - พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
- พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี | - อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
- คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก

- การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
- บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ | - พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
- พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ | - พญานาค การบูชาองค์พญานาค | - ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
- รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี การบูชาพระแม่อุมาเทวี | - องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
- พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ | - องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี

- ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
- การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า | - พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
- ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
- พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ | - การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
- เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม พระแม่กวนอิมปางต่างๆ

[ เรื่องร่างทรง ]
เรื่องร่างทรง 1 - เตือนใจเรื่องร่างทรง มารสังคมที่ต้องระวัง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 2 - คนมีองค์ กับ ร่างทรง ต่างกันอย่างไร ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 3 - ร่างทรงกำลังทรงเจ้า หรือกำลังโดนผีสิง ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 4 - การรับขันธ์ อันตรายถึงชีวิต! (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 5 - ตอบคำถามร่างทรง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ การทรงเจ้า องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 6 - ถอนขันธ์ ลาขันธ์ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้าองค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 7 - รวมข่าวร่างทรงถูกจับ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้า องค์เทพ)

[ พระศิวะมหาเทพ ]
1. ตำนานพระศิวะ | 2. รูปลักษณ์ แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ  |  3. เมล็ดรุทรักษะ เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4. โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ สัตว์ศักดิ์สิทธิ์  |  5. ศิวะนาฏราช พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6. ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ การบูชาศิวลึงค์  |  7. คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ

[ พระประจำวันเกิด , นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์ 
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์  , พระประจำวันเสาร์ พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ

รวมโองการเชิญเทพ / บทไหว้ครู / กลอนไหว้ครูของไทย
สำหรับผู้ศรัทธาในเทพทุกระดับชั้น เพื่อการบวงสรวงบูชาเทพในพิธีอันเป็นสิริมงคลต่างๆ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ ขอพรพระคเณศ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ บทเสมาสามัคคีเสวก
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 1
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 2
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 3
นมัสการเทพ (สามัคคีประเภทคำฉันท์)
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 1
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 2
เชิญเทพ - ร.6 (เสื้อเมือง หลักเมือง)
เชิญเทพ - รัชกาลที่ 6 (ทวยเทพ)
โองการเชิญเทพ - บวงสรวงท้าวโลกบาล
บทอัญเชิญเทพประจำเมือง



อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ และ นักเขียนหนังสือองค์เทพ







อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ Siamganesh.com
ผู้เผยแพร่ความรู้ในการบูชาองค์เทพคนสำคัญของไทย

สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่




สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่









สั่งซื้อหนังสือ
ผลงาน อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
คลิกที่นี่



ติดต่อสยามคเณศได้ที่ siamganesh@gmail.com
Facebook : สยามคเณศดอทคอม
Facebook : มหาบูชา
 
ตำนานองค์เทพ วิธีบูชา แนวทางการปฏิบัติ พิธีกรรมบูชา คำสอนต่างๆ
รวมรูปภาพองค์เทพ รูปองค์เทพต่างๆ
แหล่งสักการะ ศาลพระพรหม เทวาลัย ศาลพระพิฆเนศต่างๆ
งานบุญ การทำบุญ กิจกรรมการกุศลต่างๆ
ตำนานพระเกจิ ประวัติหลวงพ่อต่างๆ
รวมข้อมูลวัดไทย การเดินทางไปวัด การท่องเที่ยว ไหว้พระ 9 วัด แผนที่วัด

ข่าวงานบุญ การทำบุญ พระราชพิธีต่างๆ / บทความ ศาสนาพราหมณ์ งานวิจัย โบราณคดี เทววิทยา /
รูปภาพพระพิฆเณศวร์ พระคเณศวร องค์พระพิฆเณศ / รูปภาพพระศิวะ พระอิศวร /
รูปพระแม่อุมาเทวี พระแม่กาลีเทวี พระแม่ทุรกา พระแม่ทุรคาเทวี /
รูปภาพพระแม่ลักษมีเทวี พระลักษมี / รูปพระวิษณุ พระนารายณ์
รูปภาพในศาสนาพราหมณ์ พิธีกรรมของศาสนาฮินดู ชาวอินเดีย ชาวฮินดู พราหมณ์ /
ความรู้เรื่องเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ การประกอบพิธีกรรมวิธีบูชาองค์เทพ / ความรู้เรื่ององค์เทพ การบูชาเทพ


ติดต่อสยามคเณศได้ที่ siamganesh@gmail.com
ขออำนาจแห่งพระพิฆเนศวรโปรดดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายล้วนประสบแต่ความสำเร็จในทุกๆประการด้วยเทอญ
สงวนลิขสิทธิ์ SiamGanesh.com, All Rights Reserved.