ใน 300-400 ปีที่ผ่านมา ทางอินเดียคิดพระพิฆเนศปางใหม่ๆ
ขึ้นมา เช่น "ทารกะคณบดี"
( ทารกนอนแป, ออกคลาน) , "สายาสนคณบดี"
(นอนเล่น), "สังคีตคณบดี"
(เล่นดนตรี) และ "ยาตราคณบดี"
(เดินทางแสวงบุญ)
ปางเหล่านี้ไม่ค่อยมีตำนานรองรับ แต่ก็สวยงาม จึงเป็นที่นิยมแพร่หลายมากในอินเดีย
แต่ไม่เคยปรากฏในศิลปะอุษาคเนย์แต่โบราณ
นอกจากนี้ ชาวอินเดียสมัยใหม่ยังหลงใหลกับศิลปะ "เหมือนจริง"
(Realistic) ของตะวันตก จึงเริ่มผลิตเทวรูปพระพิฆเนศที่
"เหมือนจริง" จนคนที่มีรสนิยมสูงมักติว่า
"ฉูดฉาดหรูหราบาดตา"
แต่ประชาชนโดยทั่วไปนิยมชมชอบและศรัทธาเทวรูปแบบใหม่นี้
เพราะเป็นสัญลักษณ์ของความมั่งคั่งหรูหราที่เขาปรารถนาในชีวิตแร้นแค้นยากไร้
ซึ่งก็น่าจะเป็นธุระของพระพิฆเนศที่จะบำบัดแก้ไขให้ดีขึ้น
จนทุกวันนี้พระพิฆเนศยังเป็นที่พึ่งของชนทุกชั้น บริษัทมหาเศรษฐีถ่ายภาพยนตร์ในกรุงมุมไบกราบไหว้บูชาเทวรูปหรูดังกล่าวมาแล้ว
โรงแรมใหญ่ยังจ้างช่างสลักทำเทวรูปไว้ต้อนรับแขกในห้องโถง
ชาวบ้านเมื่อแล้งก็ช่วยกันจัดแห่พระพิฆเนศขอฝน... วิทยาลัยนาฏศิลป์ตั้งเทวรูปที่โคนต้นไทรข้างทางเข้า...
ครูและศิษย์จะได้ไหว้เมื่อเดินทางเข้า-ออก และหนุ่มสาวที่มีอะไรในใจต่อกันก็มักมาขอพรท่าน
ก่อนจะกล้าเผยให้ผู้ใหญ่รู้
ประเทศสยามได้สืบทอดศาสนาพราหมณ์ (ฮินดู) ตลอดจนมาถึงปัจจุบัน
ทั้งในพิธีกรรมและความเชื่อบางอย่างของชาวบ้านและในสถาบันพราหมณ์พระราชพิธี
ที่ เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ (เสาชิงช้า)
ซึ่งรัชกาลที่ 1 โปรดให้สร้างขึ้นมาสำหรับพระนคร ก็ยังรักษาเทวรูปเก่าแก่สำคัญๆ
และประกอบพิธีกรรมตามประเพณีโบราณ พร้อมทั้งขับเพลงสวดสรรเสริญพระเป็นเจ้าต่างๆ
ทั้งภาษาทมิฬและภาษาสันสกฤต
ใน สถานพระพิฆเนศ (โบสถ์กลาง) ประดิษฐานเทวรูปพระพิฆเนศที่สง่างามหลายยุคหลายสมัย
ในรัชกาลที่ 1 ถึง 4 โบสถ์พราหมณ์สำหรับพระนครนี้ได้ผลิต
"ตำราภาพเทวรูปฯ" จำนวนหนึ่ง ประกอบด้วย ภาพพระพิฆเนศหลายปาง
ซึ่งน่าจะคัดลอกจากตำราเก่าสมัยอยุธยาเป็นส่วนใหญ่
ตำราภาพสมัยรัตนโกสินทร์เหล่านี้ปัจจุบันรักษาไว้ที่หอสมุดแห่งชาติ
"วัดแขก" ถนนสีลม สร้างขึ้นมาในสมัยรัชกาลที่
5 โดยพ่อค้าชาวอินเดียใต้ มีชื่อเป็นภาษาทมิฬว่า "ติรุมาริยัมมันโกยิล"
และภาษาไทยว่า "วัดพระศรีมหาอุมาเทวี"
ปราสาทประธานเป็นที่สถิตของพระนางอุมา ปราสาทซ้าย-ขวาประดิษฐานพระบุตรของพระนาง
คือขันธกุมารและพระพิฆเนศ
"วัดแขก" ถนนสีลมเป็นตัวอย่างเทวสถานฮินดูแบบอินเดียใต้
ที่น่าสนใจคือ ผู้อุปถัมภ์วัดนี้ส่วนใหญ่เป็นคนไทยชนชั้นกลางในเมือง
ไม่ใช่ชาวทมิฬเสียแล้ว...ชาวทมิฬที่เข้ามาสมัยรัชกาลที่
5 ส่วนใหญ่กลายเป็นคนไทย-พุทธจนจับไม่ถูก เว้นแต่ผิวคล้ำเนียนงาม
นามสกุล และการไม่ยอมกินเนื้อโค
ความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมนี้เกิดภายในระยะเวลาไม่ถึง
100 ปี!!
ในรัชกาลที่ 6 มีการประดิษฐ์หัวโขนใหม่ ขึ้นหัวพระพิฆเนศที่งามสง่าเหมือนของเดิม
ทั้งๆ ที่ไม่มี "ของเดิม" เหลือให้เห็น
ด้านสถาบันทางศิลปวัฒนธรรมของไทยมีหลายแห่งเลือกพระพิฆเนศเป็นสัญลักษณ์
เช่น ตรากรมศิลปากร และเทวรูปหน้าโรงละครแห่งชาติ
ฝ่ายเอกชนนั้น ในยุคสมัยใหม่ที่กำลังเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วน่าสะพรึงกลัว
มีหลายคนอยากย้อนกลับไปยึดเหนี่ยวกับวัฒนธรรมอดีต
บางท่านคิดอาศัยพระพิฆเนศเป็นสื่อ เช่น นายทุนบางคนสร้างเทวรูปพระพิฆเนศให้เฝ้าประตูทางเข้าบริษัท
โรงงาน หรือ หมู่บ้าน
เทวรูปเหล่านี้มีลักษณะย้อนหลังสู่อดีต, ไม่มีการประดิษฐ์คิดใหม่
ดังนี้เป็นที่น่าเชื่อว่าพระพิฆเนศยังมีพลังในการเชื่อมโยงระหว่างอดีตและปัจจุบัน...
ขอขอบคุณ : หนังสือพิมพ์ข่าวสด
----------------
อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม
----------------
หน้าแรก-องค์เทพ
(สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม
ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ
พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง
, พระศิวะ
พระอิศวร , พระราม
รามเกียรติ์ รามายณะ
,
พระกฤษณะ
ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ
พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค
พระแม่อุมาเทวี
เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี
เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา
เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ
การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี
เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี
,
พระแม่สรัสวตี
พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี
,
พระขันทกุมาร
การบูชาพระขันธกุมาร
,
หนุมาน
พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน
,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
ท้าวจตุโลกบาล
- เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ
,
ท้าวเวสสุวัณ
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา
แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี
, พระแม่โพสพ
--------- สถานที่
ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร
วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ
ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ
พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
, ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง
พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก
, เสาชิงช้า
, พระพิฆเนศนครนายก
พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
, พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา
พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี
สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ
สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร
ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง
3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ
-
พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน
จ.ฉะเชิงเทรา
-
พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม
พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
-
พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย
อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ
8 แห่ง
-
รวมรูปองค์เทพ | -
รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | -
รวมความรู้การบูชาองค์เทพ
โครงการ
"พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย
-----------------
เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
-
"คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์
วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
-
"นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี
ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
-
"มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี
วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
-
"ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี
เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
-
"พระราชพิธีตรียัมปวาย"
งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์
แผนที่โบสถ์พราห์ม , พระราชพิธีแรกนาขวัญ
งานแรกนาขวัญ
[ การบูชาเทพเจ้า
]
-
รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ
วิธีบูชาองค์เทพ
-
ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
-
เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา
| -
เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ
-
สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์
| -
ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
-
ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
-
ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก
| -
ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
-
พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้
| -
พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
-
พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี
| -
อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
-
คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี
เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก
-
การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์
โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
-
บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ
| -
พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
-
พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ
| -
พญานาค การบูชาองค์พญานาค | -
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
-
รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี
การบูชาพระแม่อุมาเทวี | -
องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
-
พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ
องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ |
-
องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี
-
ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ
| -
พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ
| -
การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
-
การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า
| -
พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
-
ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
-
พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ
| -
การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
-
เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม
พระแม่กวนอิมปางต่างๆ
[ เรื่องร่างทรง
]
เรื่องร่างทรง
1
- เตือนใจเรื่องร่างทรง
มารสังคมที่ต้องระวัง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง
มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
2
- คนมีองค์ กับ ร่างทรง ต่างกันอย่างไร ?
(รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์
องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
3
- ร่างทรงกำลังทรงเจ้า หรือกำลังโดนผีสิง
? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์
องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
4
- การรับขันธ์ อันตรายถึงชีวิต! (รับขันธ์
ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
5
- ตอบคำถามร่างทรง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง
มีองค์ คนมีองค์ การทรงเจ้า องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
6 -
ถอนขันธ์ ลาขันธ์ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง
มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้าองค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
7 -
รวมข่าวร่างทรงถูกจับ (การรับขันธ์ ร่างทรง
ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้า องค์เทพ)
[ พระศิวะมหาเทพ
]
1.
ตำนานพระศิวะ | 2.
รูปลักษณ์
แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ
| 3.
เมล็ดรุทรักษะ
เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4.
โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ
สัตว์ศักดิ์สิทธิ์
| 5.
ศิวะนาฏราช
พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6.
ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ
การบูชาศิวลึงค์
| 7.
คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ
[ พระประจำวันเกิด
, นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์
พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์
พระจันทร์
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร
พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน
พระพุธ
พระราหู
การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู
พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี
พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์
, พระประจำวันเสาร์
พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ
|
|
|