เดือนหก เป็นเริ่มเข้าวันแรกขึ้น ๑ ค่ำ เดือนหก เมื่อเทียบปฏิทินสากลทางสุริยคติ
ซึ่งตรงกับวันที่ ๘ พฤษภาคม ๒๕๔๘
พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัล
(จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม กรุงเทพมหานคร
เขียนในสมัยรัชกาลที่ 5)
ขณะที่บริเวณลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยานับเดือนหก แต่ทางล้านนาและบางท้องถิ่นที่อยู่ตอนบนของภูมิภาคจนถึงทางใต้ของจีน
นับเป็นเดือนแปด จึงนับเร็วกว่ากันราว ๒ เดือน ตามลักษณะแตกต่างทางภูมิศาสตร์
ประเพณีชาว บ้านช่วงเวลานี้ สืบเนื่องจากเดือนก่อน (คือ เดือนห้า)
เป็นช่วงเวลาหลังฤดูการเก็บเกี่ยวพืชพันธุ์ธัญญาหาร แล้วเริ่มเข้าฤดูการผลิตใหม่
เพราะฝนเริ่มตกแล้ว ถึงเวลาต้องเตรียมเครื่องมือทำไร่ไถนา ที่สำคัญก็คือต้องทำพิธีแรกนา
หรือ นาแรก ทางอีสานเรียก นาตาแฮก ในทวาทศมาส (โคลงดั้น) เอกสารยุคต้นกรุงศรีอยุธยา
พรรณนาฤดูเดือนหก (ไพศาขย) เริ่มมีฝนตกแล้วว่า ฤดูไพศาลขยสร้อง
ฝนสวรรค์ ต่อจากนี้ไปจะมีพิธีแรกนาขวัญทั่วไปในชนบทหมู่บ้าน
เพื่อสร้างขวัญและกำลังใจให้ชาวนาชาวไร่มีโคลงดั้นบอกว่า แขไขบ่าวไถนาถถั่น
มานา
พิธีแรกนาขวัญที่ท้องสนามหลวง เมื่อ พ.ศ. 2547
แรกนาขวัญในชนบทหมู่บ้านทุกแห่งจะมีธงปักและผูกคันไถปลิวไปตามลมทุกหนทุกแห่ง
ทวาทศมาส (โคลงดั้น) พรรณนาดังนี้
เดือนหกเรียมไห้ร่ำ ฤาวาย
ยามย่อมชนบทถือ ท่องหล้า
ธงธวัชโบกโบยสุดปลาย งอนง่า
คิดว่ากรกวักข้า แล่นตาม ฯ
ทันธงบใช่น้อง เรียมทรุด
หิวคระหนรนกาม พรั่นกว้า
ธวัชงอนโบกโบยสุด ลิ่วลี่
กรใช่กรหน้าหน้า ใช่น้องนาไถ ฯ
จนถึงปลายกรุงศรีอยธยาก็ยังมีพรรณนาแรกนาขวัญไว้ในนิราศธารโศกของเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์
(กุ้ง) ว่า
เดือนหกสรกฝนสวรรค์ จรดนังคัลตามพิธี
แรก นาเข้า ธรณี พี่ดูเจ้าเปล่าใจหาย
เดือนหกตกครั่นครื้น ฝนสวรรค์
พิธี จรด นังคัล ก่อเกล้า
แรกนาจอมไอศวรรย์ กรุงเทพ
พี่ แลบเห็น เจ้า เปล่าแล้วใจหาย
พระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัล ณ ท้องสนามหลวง มองผ่านพระศรีรัตนเจดีย์และพระมณฑปภายในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
(จิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดเสนาสนารามราชวรวิหาร จ. พระนครศรีอยุธยา
เขียนในสมัยรัชกาลที่ 5)
แรกนาขวัญ เป็นภาษาของคนในภาคกลางที่ราบลุ่มแมน้ำเจ้าพระยา
ตรงกับภาษาของคนบริเวณสองฝั่งแม่น้ำโขงว่า นาตาแฮก (แฮก คือ
แรก) หมายถึงการไถนาทำนาปลูกข้าวครั้งแรกในนาจำลองขนาดเล็กๆ
ที่สมมุติขึ้น แล้วมีพิธีสู่ขวัญวิงวอนร้องขอต่ออำนาจเหนือธรรมชาติ
(บางทีเรียกผีนาหรือพระภูมินา) จงบันดาลให้ทำนาจริงๆ ได้ผลผลิตเป็นข้าวงอกงามอุดมสมบูรณ์เหมือนนาจำลองที่สมมุติขึ้นครั้งแรกนี้
บางแห่งเช่น ภาคเหนือจะทำพิธีสังเวยแม่โพสพพร้อมกันไปด้วย
พิธีอย่างนี้มีมาตั้งแต่ดั้งเดิมในชุมชนคนดึกดำบรรพ์ราว ๓,๐๐๐
ปีมาแล้ว สมัยก่อนๆทุกคนมีอาชีพทำนาต้องทำกันทั่วไปก่อนจะลงมือทำนาจริง
ต่อมาเมื่อราชสำนักรับแบบแผนฮินดูจากชมพูทวีป (อินเดีย) จึงปรุงแต่งให้สอดคล้องกับพีธีพราหมณ์เพื่อความศักดิ์สิทธิ์สูงขึ้น
เช่น มีพระโคเสี่ยงทาย มีการเชิญเทวดามาเสกเป่าข้าเปลือกที่ใช้หว่านในพิธี
เมื่อเสร็จงานก็ให้ชาวบ้านแย่งกันเก็บเม็ดข้าเปลือกไปบูชา และโปรยลงในนาของตนเพื่อให้ได้ผลผลิตเป็นเมล็ดข้าวมากขึ้น
และรอดพ้นจากภัยธรรมชาติ
ภาษาทางราชการเรียก จรดพระนังคัล เป็นคำเขมร (นังคัล คือ ผาลไถนา)
แปลว่าไถนาครั้งแรก มีหลักฐานยืนยันในเอกสารเก่าแก่ว่า พระเจ้าแผ่นดินเมื่อราว
๗๐๐ ปีมาแล้วมอบให้เจ้านายและขุนนางทำพิธีนี้ เพื่อความมั่งคั่งในพืชพันธุ์ธัญญาหารของราชอาณาจักร
จะละเว้นมิได้ ต้องทำทุกปี จึงมีสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
ขวัญ มีอยู่ในคน สัตว์ สิ่งของ และธรรมชาติ
ตัวตนของคนทุกคนในชุมชน (ยุคก่อนรับศาสนาจากอินเดีย) นานมาแล้ว
เชื่อว่ามีส่วนประกอบสำคัญอยู่ ๒ ส่วน คือส่วนที่เป็นตัวตนได้แก่ร่างกาย
กับส่วนที่ไม่เป็นตัวตนคือขวัญ แม้สัตว์ สิ่งของ และธรรมชาติก็มีขวัญทั้งนั้น
เช่น ขวัญควาย ขวัญยุ้งข้าว ขวัญนา จึงมีพิธีแรกนาขวัญ
ชาวบ้านอีสานกำลังสวดขวัญวิงวอนร้องขออำนาจเหนือธรรมชาติในการทำนา
"ตาแฮก"
โดยปลูกต้นข้าว 7-8 ต้น การปลูกข้าวแรกนี้เรียก "ปักกกแฮก"
ขวัญต่างจากวิญญาณ (ในคำสอนทางศาสนา) เพราะเมื่อคนตายไปวิญญาณก็ดับหายไป
แต่ขวัญไม่หายไปพร้อมเจ้าของที่ตายในทางตรงข้าม ขวัญของผู้ตายยังมีอยู่
แล้วพยายามหนทางกลับเหย้าเรือนเดิมของตน ไม่ว่าเหย้าเรือนเดิมจะอยู่ส่วนไหนของโลก
ขวัญมีหน่วยเดียว แต่ฝังกระจายอยู่ทุกส่วนของร่างกายตั้งแต่แรกเกิดมาเป็นตัวตน
และมีความสำคัญเท่าๆ กันหมด รวมถึงสำคัญเท่ากับร่างกายด้วย เพราะร่างกายต้องมีขวัญ
ถ้าไม่มีขวัญก็ไม่มีชีวิต ฉะนั้น ร่างกายที่มีชีวิตต้องมีขวัญ
เช่น ขวัญหัว ขวัญตา ขวัญมือ ขวัญแขน ขวัญขา ฯลฯ
ด้วยเหตุนี้คนสมัยก่อนจึงเชื่อว่าถ้ามีขวัญอยู่กับร่างกาย เจ้าของขวัญจะมีความสุข
แต่ถ้าขวัญออกจากร่างกายไปเจ้าของขวัญก็ไม่มีความสุข ไม่เป็นปกติ
อาจเจ็บไข้ได้ป่วยจนถึงตายได้ ฉะนั้นเมื่อคนเราเจ้าของขวัญเจ็บป่วยแสดงว่าขวัญไม่ได้อยู่กับตัว
มีความจำเป็นต้องจัดพิธีเรียกขวัญ หรือพิธีสู่ขวัญให้กลับเข้าสู่ตัวตนเหมือนเดิม
จะได้อยู่ดีมีสุขตามปกติ
ชาวบ้านภาคกลางกำลังแรกนาขวัในท้องนาที่บ้านโพธิ์สามต้น จ. พระนครศรีอยุธยา
พิธีกรรมเกี่ยวกับขวัญมีชื่อเรียกต่างๆ กันไปตามท้องถิ่น เช่น
เรียกขวัญ สู่ขวัญ ทำขวัญ ฯลฯ เป็นพิธีกรรมที่แสดงความผูกพันในระบบความสัมพันธ์แบบเครือญาติระหว่างบุคคล
กับชุมชนที่เริ่มมีขึ้นในสังคมกสิกรรมหรือสังคมชาวนาที่ยังล้าหลังทาง
เทคโนโลยีเมื่อราว ๓,๐๐๐ ปีมาแล้ว บรรดาเครือญาติจะจัดขึ้นเมื่อเกิดเหตุอย่างใดอย่างหนึ่งทั้งเหตุดีและเหตุไม่ดี
เช่น ฝันร้าย รวมทั้งได้รับอุบัติเหตุเภทภัยจากสถานการณ์ต่างๆ
ผู้ที่ทำพิธีเกี่ยวกับขวํญด้วยการท่องบ่นคำสู่ขวัญเป็นทำนองอย่างหนึ่งด้วยฉันทลักษณ์
กลอนร่าย เรียก หมอขวัญ เป็นคนเดียวกับหมอผี หมอพร เทียวเท่ากับผู้เชี่ยวชาญพิเศษในวิชาความรู้เหมือนนักบวชในศาสนาต่างๆ
สมัยหลัง โดยใช้เครื่องมือสื่อสารกับขวัญและอำนาจเหนือธรรมชาติคือ
ดนตรี มีฆ้องกับแคนเป็นหลัก ที่ภายหลังเรียกกลอง ปี่ หรือปี่-
กลองก็ได้
ผู้มีอำนาจเหนือธรรมชาติคือนาค เพราะเป็นผู้พิทักษ์มนุษย์และธรรมชาติ
จึงเรียกทำนองเพลงที่แต่งขึ้น เพื่อพิธีกรรมทำขวัญว่านางนาค
มีชื่อเป็นเพศหญิง เพราะรากเหง้าเก่าแก่ของสังคมในอุษาคเนย์เรียกผู้หญิงว่า
แม่ หรือ นาง หมายถึงเป็นใหญ่เหนือทุกสิ่งทุกอย่าง
ในพิธีแรกนาขวัญต้องไถนาแรก หรือนาตาแฮก ที่จำลองขึ้นเป็นสมมุติ
เมื่อผู้นำในพิธีกรรมเริ่มไถนาแรกพนักงานดนตรีปี่พาทย์ต้องเริ่มต้นประโคม
ด้วยเพลงนางนาค เป็นสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์ร้องขอความอุดมสมบูรณ์แก่พืชพันธุ์ธัญญาหาร
และอาจตามด้วยเพลงที่เป็นสิริมงคลอื่นๆ ต่อไปให้ยืดยาวได้จนกว่าจะไถนาแรกเสร็จสิ้นตามที่กำหนดไว้
จากเอกสาร แบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้สู่สาธารณะ จากมหาวิทยาลัยศิลปากร
ชุดประเพณี 12 เดือน
ขอรับเอกสารและสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมที่ ภาควิชามนุษยวิทยา คณะโบราณคดี
มหาวิทยาลัยศิลปากร (วังท่าพระ) ถนนหน้าพระลาน กรุงเทพฯ 10200
โทร. 0-2221-3897 www.archae.su.ac.th และ www.anthrosu.cjb.net
ขอขอบพระคุณ : นิตยสารสารคดี
---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม
----------------
หน้าแรก-องค์เทพ
(สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม
ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ
พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง
, พระศิวะ
พระอิศวร , พระราม
รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ
ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ
พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค
พระแม่อุมาเทวี
เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี
เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา
เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ
การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี
เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี
,
พระแม่สรัสวตี
พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี
,
พระขันทกุมาร
การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน
พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน
,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
ท้าวจตุโลกบาล
- เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ
,
ท้าวเวสสุวัณ
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา
แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี
, พระแม่โพสพ
--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย
เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร
วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ
ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ
พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
, ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง
พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก
, เสาชิงช้า
, พระพิฆเนศนครนายก
พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
, พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา
พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี
สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ
สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร
ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง
3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ
-
พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
-
พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ
พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
-
พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย
อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
-
รวมรูปองค์เทพ | -
รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | -
รวมความรู้การบูชาองค์เทพ
โครงการ
"พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย
----------------- เทศกาล
งานสำคัญต่างๆ -----------------
-
"คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์
วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
-
"นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี
ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
-
"มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี
วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
-
"ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี
เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
-
"พระราชพิธีตรียัมปวาย"
งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์
แผนที่โบสถ์พราห์ม , พระราชพิธีแรกนาขวัญ
งานแรกนาขวัญ
[ การบูชาเทพเจ้า
]
-
รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ
-
ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
-
เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา
| -
เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ
-
สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์
| -
ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
-
ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
-
ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก |
-
ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
-
พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้
| -
พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
-
พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี
| -
อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
-
คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี
เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก
-
การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
-
บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ
| -
พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
-
พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ
| -
พญานาค การบูชาองค์พญานาค | -
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
-
รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี
การบูชาพระแม่อุมาเทวี | -
องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
-
พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ
ปางของพระวิษณุ | -
องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี
-
ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ
| -
พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | -
การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
-
การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า
| -
พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
-
ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
-
พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ
| -
การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
-
เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม
พระแม่กวนอิมปางต่างๆ
[ พระศิวะมหาเทพ
]
1.
ตำนานพระศิวะ | 2.
รูปลักษณ์
แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ
| 3.
เมล็ดรุทรักษะ
เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4.
โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ
สัตว์ศักดิ์สิทธิ์
| 5.
ศิวะนาฏราช
พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6.
ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ
การบูชาศิวลึงค์
| 7.
คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ
[ พระประจำวันเกิด
, นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ
(พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร
,
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู
การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู
พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี
พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์
, พระประจำวันเสาร์
พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ
|
|
|