พระพิฆเณศ
รูปพระพิฆเนศ
อ่านเรื่องเทพเจ้าของพราหมณ์-ฮินดูได้อีกมากมาย!!
พระพิฆเนศ พระแม่อุมา พระแม่ทุรคา พระแม่กาลี
พระศิวะ พระวิษณุ พระพรหม
พระแม่ลักษมี พระแม่สรัสวดี
พระขันทกุมาร และเทพเจ้าองค์อื่นๆ อีกมากมาย
พระแม่ทุรคา
เทวีแห่งพละกำลัง การสู้รบ และความกล้าหาญ

รูปบูชาพระแม่ทุรกา แบบมาตรฐานที่พบเห็นได้ทั่วไป
พระแม่ทุรคา
หรือ พระแม่อุมาเทวี

พระแม่ทุรคา หรือ พระแม่ทุรกา เป็นอีกพระนามหนึ่งของ พระแม่อุมาเทวี ที่อวตารมาปราบอสูรชื่อ มหิษาสูร นับว่าเป็นปางที่สำคัญและยิ่งใหญ่ไม่น้อยไปกว่าปาง พระแม่กาลี มีความเหี้ยมหาญ แข็งแกร่ง มีพละกำลังมาก แต่ไม่ดุร้ายน่ากลัวเท่ากับปางพระแม่กาลี เมื่อบูชาพระแม่ทุรคาอย่างสม่ำเสมอ พระองค์จะประทานพรด้านความกล้าหาญ ชนะศัตรูรอบทิศ การมีบริวาร มีความยุติธรรม ตลอดจนการมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง


 


รูปภาพบูชาพระแม่ทุรคาปางยืน มีสิงโตสัตว์พาหนะคู่กาย
รูปบูชาพระแม่ทุรคาของอินเดียที่สวยงามอีกรูปหนึ่ง

image from photobucket.com

รูปบูชาพระแม่ทุรคาปราบอสูร
รูปบูชาพระแม่ทุรคาปราบอสูร
image from sulekha.com

การปฏิบัติ "จักรัน"

พิธีกรรมสำคัญเพื่อบูชาพระแม่ทุรคานั้น เรียกว่าพิธี "จักรัน" คือการบูชาพระแม่ทุรคาด้วยการ สวดภาวนาตลอดคืน นิยมปฏิบัติกันมากในอินเดียเหนือ เช่น เมืองปัญจาบ ฮัรยาน เดลฮี ฯลฯ การปฏิบัตินั้นมีข้อปลีกย่อยแตกต่างกันออกไปตามแต่ละท้องถิ่น สำหรับวิธีปฏิบัติจักรันเบื้องต้น คือ
1. เริ่มจากสวดบูชาพระพิฆเนศ
2. ยืน หรือ นั่ง ต่อหน้าองค์เทวรูปหรือรูปภาพพระแม่ทุรคา แล้วสวดบูชาด้วยมนต์พระแม่ทุรคาบทใดบทหนึ่ง
3. สวดบูชาด้วยมนต์ โอม อีง ฮรีง กลีง จามุนดาเย วิชเช โอม หรือมนต์อื่นๆของพระทุรกาต่อเนื่องจนถึงเช้า

การปฏิบัติเช่นนี้ ก็เพื่อเป็นการภาวนาถึงพระแม่ทุรคาและขอพรจากพระองค์ สามารถเลือกทำได้ในวันที่ว่าง ถือเป็นการบำเพ็ญตบะอย่างหนึ่ง เพื่อฝึกความอดทน ทรมานกายด้วยการอดนอนให้ได้ข้ามคืน

ผู้ศรัทธายังสามารถเพิ่มกิจกรรมระหว่างการสวดบูชาจักรันได้ เช่น
- เดินวนรอบเทวรูปพระแม่ทุรคา 1 รอบต่อการสวด 1 จบ
- เดินหมุนรอบตัวเอง 1 รอบต่อการสวด 1 จบ
- นับลูกประคำ 1 เม็ดต่อการสวด 1 จบ
- นับก้านธูป 1 ดอกต่อการสวด 1 จบ
- นับกำยาน 1 อันต่อการสวด 1 จบ
- นับดอกไม้ 1 ดอกต่อการสวด 1 จบ
- เด็ดกลับดอกกุหลาบหรือดอกอื่นๆ 1 กลีบต่อการสวด 1 จบ
- ก้มกราบ 1 ครั้งต่อการสวด 1 จบ ฯลฯ
นักบวชและโยคีที่ประกอบพิธีนี้ จะเริ่มภาวนาต่อพระแม่ทุรคาตั้งแต่พระอาทิตย์ตกดิน ไปจนถึงพระอาทิตย์ขึ้นในรุ่งเช้าของอีกวัน

ข้อแนะนำเกี่ยวกับการประกอบพิธีจักรัน
การสวดภาวนาเพื่อประกอบพิธีจักรัน และได้ทำกิจกรรมระหว่างการสวดด้วย เช่น การก้มกราบทุกๆ ครั้งที่สวดมนต์ได้ 1 จบ หรือการเดินหมุนรอบตัวเอง ฯลฯ หากกระทำต่อเนื่องเป็นเวลาหลายชั่วโมง อาจทำให้หน้ามืด เป็นลม ส่งผลเสียต่อสภาพร่างกายได้ ควรเริ่มจากการปฏิบัติแต่น้อย อาจจะเป็นเพียงคืนละ 1 ชั่วโมง หรือครั้งละ 108 จบ...500 จบ...1,000 จบ ค่อยๆเพิ่มระยะเวลาให้นานขึ้น จนสามารถภาวนาได้ถึงเช้าวันใหม่ การสวดนั้นควรสวดภาวนาให้ช้าๆ สงบ นิ่ง และเนิ่นนาน... สามารถจุดเทียน ธูป กำยาน เพื่อให้แสงไฟและกลิ่นหอมโน้มนำจิตใจให้เข้าสู่สมาธิได้ดียิ่งขึ้น

ในช่วงแรกควรมีน้ำดื่มไว้ข้างกายเพื่อจิบแก้กระหาย หากปวดเมื่อยก็ควรเปลี่ยนอิริยาบทท่าทางตามสบาย เพื่อป้องกันความเครียดที่จะเกิดขึ้น และในระหว่างการสวดภาวนา

***ข้อพึงระวังเมื่อปฏิบัติจักรัน***
หากมองเห็นภาพหรือนิมิตที่แปลกประหลาดเกิดขึ้นในจิตหรือในภวังค์ ก็ขอให้ตั้งสติให้ดี ไม่ว่าจะน่ากลัวเพียงใด จงอย่าหุนหันลุกขึ้นวิ่งหนี มิฉะนั้น กายทิพย์จะแตก ส่งผลร้ายต่อสติ ให้ทำใจแข็งค่อยๆลืมตาขึ้น แล้วสวดภาวนาว่า "โอม ศานติ ศานติ ศานติ" เพื่อแผ่เมตตาและปรับจิตใจให้คืนสู่สภาพปกติ หากนิมิตแปลกประหลาดนั้นยังคงเกิดขึ้นอยู่และรบกวนจิตใจอย่างต่อเนื่อง ควรหยุดการทำพิธี และให้ทำสมาธิภาวนาว่า โอม ศานติ ศานติ ศานติ เป็นประจำทุกคืน แล้วสภาพจิตใจจะค่อยๆกลับมาเป็นปกติ ...เรื่องนี้เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ยาก หากปฏิบัติไปนานๆ จะซึมซับและเข้าใจได้เอง... ต้องการคำแนะนำ โปรดติดต่อ siamganesh@gmail.com

คาถาบูชาพระแม่ทุรคาเทวี

มีหลายบท ให้เลือกสวดบทใดบทหนึ่ง (หรือสวดทั้งหมด)

ข้อควรจำ : ก่อนการสวดบูชาพระแม่อุมาเทวี จะต้องสวดมนต์ต่อพระพิฆเนศก่อนเสมอ

- โอม ไจ มาตา ดี (สามจบ)

- โอม ชยะ ศรี ปารวตี มาตา (สามจบ)

-
โอม ศรี มหา ทุรคาเทวะไย นะมะห์ (สามจบ)

- โอม โรคา นะเศษา นะปะหัมสิตุษฎา
รุษตาตุกามาน สะกะลา นะภีษะตาน
ตะวามา ศะริตานาม นะวิปัน นะรานาม
ตะวามา ศะริตายา ศะระยะตาม ประยันติ (หนึ่งจบ)

***สงวนลิขสิทธิ์บทความ***
การนำเนื้อหานี้ไปใช้ที่อื่น กรุณาอ้างอิงหรือขอบคุณเว็บไซต์สยามคเณศและทำลิงก์กลับมาที่ http://www.siamganesh.com

รูปบูชาพระแม่ทุรคาทรงสิงโต ปราบอสูร
image from indiaclean.com

พระแม่ทุรคา อสูร 2 ตน...image from photobucket.com

เทวรูปพระแม่ทุรกา ในวัดวิษณุ
พระแม่ทุรคา เทวรูปหินอ่อน
ประดิษฐานในวัดวิษณุ กรุงเทพฯ



เทวรูปพระแม่
ทุรคา ดูยิ่งใหญ่น่าเกรงขาม
image from wikimedia



image from funmunch.com

บทความ - พระกรทั้ง 8 แห่งพระแม่ทุรคาเทวี


---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม ----------------
หน้าแรก-องค์เทพ (สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง

, พระศิวะ พระอิศวร , พระราม รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค

พระแม่อุมาเทวี เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี ,
พระแม่สรัสวตี พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี ,
พระขันทกุมาร การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน ,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ

ท้าวจตุโลกบาล - เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ ,
ท้าวเวสสุวัณ ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี , พระแม่โพสพ

--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
,
ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก , เสาชิงช้า
,
พระพิฆเนศนครนายก พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
,
พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง 3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ

- พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
- พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
- พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
- รวมรูปองค์เทพ | - รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | - รวมความรู้การบูชาองค์เทพ

โครงการ "พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย

ศาลพระพิฆเณศวร์ เทวาลัยพระศิวะ วัดแขก โบสถ์พราหมณ์ เทวสถาน | เทวาลัยพระวิษณุ ศาลพระพรหม วัดแขก พระแม่อุมาเทวี

----------------- เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
- "คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์ วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
- "นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
- "มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
- "ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
- "พระราชพิธีตรียัมปวาย" งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์ แผนที่โบสถ์พราห์ม
, พระราชพิธีแรกนาขวัญ งานแรกนาขวัญ

[ การบูชาเทพเจ้า ]
- รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ


- ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
- เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา | - เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ

- สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์ | - ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
- ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
- ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก | - ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
- พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้ | - พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
- พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี | - อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
- คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก

- การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
- บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ | - พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
- พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ | - พญานาค การบูชาองค์พญานาค | - ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
- รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี การบูชาพระแม่อุมาเทวี | - องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
- พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ | - องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี

- ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
- การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า | - พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
- ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
- พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ | - การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
- เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม พระแม่กวนอิมปางต่างๆ

[ เรื่องร่างทรง ]
เรื่องร่างทรง 1 - เตือนใจเรื่องร่างทรง มารสังคมที่ต้องระวัง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 2 - คนมีองค์ กับ ร่างทรง ต่างกันอย่างไร ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 3 - ร่างทรงกำลังทรงเจ้า หรือกำลังโดนผีสิง ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 4 - การรับขันธ์ อันตรายถึงชีวิต! (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 5 - ตอบคำถามร่างทรง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ การทรงเจ้า องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 6 - ถอนขันธ์ ลาขันธ์ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้าองค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 7 - รวมข่าวร่างทรงถูกจับ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้า องค์เทพ)

[ พระศิวะมหาเทพ ]
1. ตำนานพระศิวะ | 2. รูปลักษณ์ แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ  |  3. เมล็ดรุทรักษะ เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4. โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ สัตว์ศักดิ์สิทธิ์  |  5. ศิวะนาฏราช พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6. ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ การบูชาศิวลึงค์  |  7. คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ

[ พระประจำวันเกิด , นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์ 
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์  , พระประจำวันเสาร์ พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ

รวมโองการเชิญเทพ / บทไหว้ครู / กลอนไหว้ครูของไทย
สำหรับผู้ศรัทธาในเทพทุกระดับชั้น เพื่อการบวงสรวงบูชาเทพในพิธีอันเป็นสิริมงคลต่างๆ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ ขอพรพระคเณศ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ บทเสมาสามัคคีเสวก
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 1
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 2
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 3
นมัสการเทพ (สามัคคีประเภทคำฉันท์)
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 1
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 2
เชิญเทพ - ร.6 (เสื้อเมือง หลักเมือง)
เชิญเทพ - รัชกาลที่ 6 (ทวยเทพ)
โองการเชิญเทพ - บวงสรวงท้าวโลกบาล
บทอัญเชิญเทพประจำเมือง



อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ และ นักเขียนหนังสือองค์เทพ







อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ Siamganesh.com
ผู้เผยแพร่ความรู้ในการบูชาองค์เทพคนสำคัญของไทย

สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่




สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่









สั่งซื้อหนังสือ
ผลงาน อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
คลิกที่นี่



ติดต่อสยามคเณศได้ที่ siamganesh@gmail.com
Facebook : สยามคเณศดอทคอม
Facebook : มหาบูชา
ขออำนาจแห่งพระพิฆเนศวรโปรดดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายล้วนประสบแต่ความสำเร็จในทุกๆประการด้วยเทอญ
สงวนลิขสิทธิ์ SiamGanesh.com, All Rights Reserved.