พระพิฆเณศ
รูปพระพิฆเนศ
อ่านเรื่องเทพเจ้าของพราหมณ์-ฮินดูได้อีกมากมาย!!
"พระพุธ" พระประจำวันเกิด (นวนพเคราะห์)
พระประจำวันพุธกลางวัน เทพนพเคราะห์ ดาวนพเคราะห์
พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์) , พระจันทร์ , พระอังคาร , พระพุธ , พระพฤหัสบดี , พระศุกร์ , พระเสาร์ , พระราหู

ตำนานพระพุธ
โดย : สยามคเณศ

ตามตำราว่าพระพุธเป็นโอรสพระจันทร์กับนางดารา พระจันทร์หลงรักเทวีนามว่า ดารา ซึ่งเป็นภรรยาของพระพฤหัสบดี พระจันทร์ได้แย่งชิงพระนางดารามาจากพระพฤหัสบดี พระพฤหัสบดีจึงป่าวประกาศทั่วสวรรค์ว่า พระจันทร์ได้กระทำความชั่ว แย่งชิงนางจากผู้อื่น พระพฤหัสบดีขอให้พระจันทร์คืนนางดาราให้ แต่พูดเท่าไหร่ก็ไม่ฟัง พระพฤหัสบดีจึงไปขอร้องพระอินทร์เจ้าแห่งสวรรค์ให้ช่วย พระอินทร์เห็นด้วยว่าพระจันทร์ประพฤติผิด จึงได้ต่อสู้ทำสงครามกันเป็นเรื่องใหญ่โตบนสวรรค์

การต่อสู้ระหว่างพระจันทร์กับพระอินทร์ยืดเยื้อยาวนาน พระจันทร์ได้เปรียบพระอินทร์เพราะมีอสูรเป็นบริวารคอยช่วยเหลือ พระพรหมผู้สร้างโลกซึ่งมองเห็นเหตุการณ์มาโดยตลอดก็เกิดความเบื่อหน่ายจึงเข้าไปยุติ ให้ทั้งสองฝ่ายสงบศึก พระพรหมมหาเทพได้ใช้วาจาตักเตือนพระจันทร์ให้รู้ผิดชอบชั่วดี จนพระจันทร์สำนึกผิด ยอมคืนพระนางดาราให้แก่พระพฤหัสบดี

ระหว่างที่พระจันทร์อยู่กับพระนางดารา ก็ได้ให้กำเนิดเทพบุรุษขึ้นมา ก็คือ พระพุธ นั่นเอง พระพุธจึงเป็นบุตรที่เกิดมาโดยการประพฤติผิดของพระจันทร์

ถ้ากล่าวตามตำราของพระศิวะ ก็มีอยู่ว่า พระศิวะมหาเทพได้นำศีรษะช้างจำนวน 17 เชือก มาบดป่นลงห่อผ้าสีเขียว พรมน้ำเทวมนต์อมฤต เสกด้วยคาถาแห่งพระองค์ ปรากฎเป็นพระพุธขึ้นมา ลักษณะคือบุรุษผู้เรืองฤทธิ์ เรียนรู้ได้ว่องไว มีความฉลาดหลักแหลม มีพละกำลังเหมือนช้าง อิริยาบถสุขุม อ่อนหวาน เชิด มีไหวพริบ มีสง่าราศี เจรจาไพเราะเสนาะโสต

วิธีบูชาพระพุธ ผู้เกิดวันอื่นๆ ก็บูชาเทวดาองค์นี้ได้เช่นกัน

ผู้บูชาพระพุธ พระพุธเป็นเทพเจ้าแห่งการพูดจา การโน้มน้าว คารมคมคาย พูดจาฟังไพเราะรื่นหู มีแต่ความน่าสนใจ
เป็นเทพแห่งความฉลาดรอบรู้ มีปัญญา มีความน่าเชื่อถือ มีความสง่างามเป็นที่หมายปองของผู้อื่น
ผู้บูชาพระพุธก็จะได้รับพรต่างๆ ดังบุคลิกภาพที่กล่าวมา ได้รับปัญญาที่ล้ำเลิศ เกิดโอกาสในการแสวงหาความรู้
ได้พรด้านการติดต่อประสานงาน การเจรจา การต่อรอง การโน้มน้าวจิตใจคน

พระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพุธคือ ปางอุ้มบาตร

คาถาบูชาพระพุธ
ไหว้แบบไทย สามารถทำตามเคล็ดวิชาการบูชาของไทยโบราณได้
คือ ถ้าบูชาประจำวันปกติใช้ธูป 3 หรือ 4 ดอก
หากบวงสรวง ขอพรในกรณีพิเศษ ฤกษ์ที่ดีที่สุดคือวันพุธ ให้ใช้ธูป 17 ดอก (ตามกำลังเทพนพเคราะห์)

บูชาพระพุธ ด้วย คาถานารายณ์เกลื่อนสมุทร
ปิ สัม ระ โล ปุ สัต พุท
สวดตามกำลังเทพพระพุธ คือ 17 จบ
(บทสวดนี้ได้มาจากบทสรรเสริญพระพุทธคุณ เรียกว่า พระคาถาอิติปิโสแปดทิศ)

(หากเกิดวันพุธกลางคืน ให้บูชาพระราหู)
บทสวดบูชาพระพุธ

อิติปิโส ภะคะวา พระพุธจะมัสมิง
จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย
สัพพะลาภัง ภะวันตุเม



บทสวดบูชาพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร พระประจำวันพุธ
สัพพาสี วิสะชาตีนัง ทิพพะมันตาคะทัง วิยะ
ยันนาเสติ วิสัง โฆรัง เสสัญจาปิ ปะริสสะยัง
อาณักเขตตัมหิ สัพพัตถะ สัพพะทา สัพพะปาณินัง
สัพพะโสปิ นิวาเรติ ปะริตตันตัม ภะณามะ เห

ประวัติย่อพระพุทธรูปปางอุ้มบาตร
ภายหลังจากส่งพระอรหัตนสาวกทั้ง 60 องค์ออกไปประกาศเผยแผ่พระศาสนาแล้วพระพุทธองค์ได้เด็จไปยังเมืองราชคฤห์ เพื่อปลดเปลื้องปฏิญญาที่ทรงให้ไว้กับพระเจ้าพิมพิสารตั้งแต่สมัยที่ยังแสวง หาโมกขธรรม เมื่อแสดงธรรมโปรดพระเจ้าพิมพิมพิสารพร้อมข้าราชบริพารให้เกิดความเลื่อมใส ได้แล้ว ก็ได้เสด็จไปประทับที่พระเวฬุวันซึ่งพระเจ้าพิมพิสารสร้างอุทิศถวายให้เป็น วัดแห่งแรกในพระพุทธศาสนา
เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะทรงทราบว่าพระโอรสได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าแล้ว และตอนนี้กำลังประกาศพระศาสนาอยู่ ณ เมืองราชคฤห์ จึงทรงส่งทูตพร้อมบริวารไปทูลนิมนต์ให้พระพุทธองค์เสด็จมายังเมืองกบิลพัส ดุ์ แต่คณะทูตที่ทรงส่งไปถึง 9 ครั้ง ต่างเงียบหายไปหมดในที่สุด ครั้งที่ 10 จึงทรงส่งกาฬุทายีอำมาตย์พร้อมบริวารไปทูลนิมนต์จึงสำเร็จตามประสงค์
ในการเสด็จโปรดพระประยูรญาติครั้งนั้น พระพุทธองค์ได้สรัสมหาเวสสันดรชาดกในท่ามกลางสมาคมพระญาติ เมื่อพระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมเทศนาจบแล้ว บรรดาพระญาติทั้งหลาย มีพระเจ้าสุทโธทนะ พระพุทธบิดาเป็นประธาน ต่างเกิดปิติยินดี แล้วกราบทูลลากลับมายังพระราชนิเวสน์ของตนๆ โดยไม่มีใครทูลอาราธนาให้พระพุทธองค์และภิกษุสงฆ์เสวยพระกระยาหารของเช้าวัน รุ่งขึ้นเลยเนื่องจากดำริว่าพระพุทธเจ้าเสด็จมายังเมืองของพระองค์เองแล้ว ถึงเวลาก็คงเสด็จเข้าไปเสวยในพระราชวังเอง
ในวันรุ่งขึ้น พระพุทธองค์จึงพาหมู่ภิกษุเข้าไปบิณฑบาตในเมืองกบิลพัสดุ์จนทำให้เกิดแตก ตื่นกันขึ้นทั่วทั้งพระนคร เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะทรงทราบข่าว จึงเสด็จออกไปประทับยืน ณ เบื้องพระพักตร์พระศาสดาและตรัสพ้อว่าเหตุไฉนพระศาสดาจึงทำให้พระองค์ได้รับ ความอับอายเยี่ยงนี้ เพราะวงศ์ของพระองค์เป็นกษตริย์ ไม่เคยมีกษัตริย์พระองค์ใดที่จะต้องเสด็จเที่ยวภิกขาจาร (เพื่อขออาหารคนื่นยังชีพ) เช่นนี้เลย
พระพุทธองค์จึงตรัสชี้แจงว่า พระองค์กำลังทำตามพุทธวงศ์ ซึ่งพระพุทธเจ้าทั้งหลายปวงอันมีพระพุทธทีปังกร เป็นต้น ล้วนสำเร็จการเลี้ยงชีพด้วยการภิกขาจารทั้งนั้น แล้วตรัสพระคาถาว่าบุคคคลไม่ควรประมาท ในบิณฑบาตที่ตนจะพึงลุกรับ
ควรประพฤติธรรมให้สุจริต บุคคลผู้ประพฤติธรรม ย่อมอยู่เป็นสุขทั้งในโลกนี้และโลกหน้า
ในเวลาจบพระคาถา พระเจ้าสุทโธทนะก็ได้สำเร็จเป็นพระโสดาบันในท่ามกลางถนนนั่นเอง และได้ทูลอาราธนาให้พระพุทธองค์พร้อมหมู่ภิกษุเสด็จเข้าไปเสวยภัตตาหารในพระ ราชนิเวสน์
ด้วยพระพุทธจริยาวัตรดังกล่าวจึงได้มีการสร้างพระพุทธรูปปางอุ้มบาตรขึ้นมา เพื่อเป็นอนุสติรำลึกถึงการเสด็จออกโปรดเวไนยสัตว์ในตอนเช้าของพระพุทธองค์ และกลายเป็นพระพุทธรูปประจำวันเกิด สำหรับผู้เกิดวันพุธ(กลางวัน)

พระศิวะมหาเทพ ผู้สร้างเทพนพเคราะห์ทุกองค์ขึ้น (นวนพเคราะห์)
จากการป่นสิ่งต่างๆเป็นผงแล้วเสกด้วยมหามนตรา



เชิญสักการะเทพนพเคราะห์ได้ที่แท่นบูชา "นวนพเคราะห์"
ณ วัดวิษณุ ยานนาวา ชมวัดวิษณุคลิกที่นี่




พระอาทิตย์
เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท บาปเคราะห์ ให้ผลในทาง ก้าวร้าวรุนแรงเฉียบไว
พระประจำวันอาทิตย์ พระอาทิตย์เป็นมิตรกับพระพฤหัสบดี และเป็นศัตรูกับพระอังคาร
พระอาทิตย์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 1 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากราชสีห์ 6 ตัวนี้เอง
จึงทำให้มีกำลังพระเคราะห์เป็น 6 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอาทิตย์ก็คือ ปางถวายเนตร



พระจันทร์
เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท ศุภเคราะห์ ให้ผลในทาง นุ่มนวลอ่อนโยน
พระประจำวันจันทร์ พระจันทร์เป็นมิตรกับพระพุธ และเป็นศัตรูกับพระพฤหัสบดี
พระจันทร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 2 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากนางฟ้า 15 องค์
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 15 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันจันทร์ก็คือ ปางห้ามสมุทร


พระอังคาร เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท บาปเคราะห์ ให้ผลในทาง รุนแรงและกำลังเร่าร้อน
พระประจำวันอังคาร พระอังคารเป็นมิตรกับพระศุกร์ และเป็นศัตรูกับพระอาทิตย์
พระอังคารถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 3 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากมหิงสา 8 ตัว
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 8 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอังคารก็คือ ปางไสยาสน์ และ ปางลีลา


พระพุธ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท ศุภเคราะห์ ให้ผลในทาง อ่อนโยนไพเราะสุขุม
พระประจำวันพุธกลางวัน พระพุธเป็นมิตรกับพระจันทร์ และเป็นศัตรูกับพระราหู
พระพุธถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 4 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากคชสาร 17 เชือก
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 17 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพุธก็คือ ปางอุ้มบาตร


พระพฤหัสบดี เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท ศุภเคราะห์ ให้ผลในทาง เมตตากรุณา
พระประจำวันพฤหัส พระพฤหัสบดีเป็นมิตรกับพระอาทิตย์ และเป็นศัตรูกับพระจันทร์
พระพฤหัสบดีถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 5 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากฤษี 19 ตน
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 19 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดีก็คือ ปางสมาธิ


พระศุกร์ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท ศุภเคราะห์ ให้ผลในทาง อ่อนหวานแจ่มใส
พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์เป็นมิตรกับพระอังคารและเป็นศัตรูกับพระเสาร์
พระศุกร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 6 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากคาวี 21 ตัว
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 21 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันศุกร์ก็คือ ปางรำพึง


พระเสาร์ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท บาปเคราะห์ ให้ผลในทาง แข็งแกร่ง
พระประจำวันเสาร์ พระเสาร์เป็นมิตรกับพระราหูและเป็นศัตรูกับพระศุกร์
พระเสาร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 7 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากพยัคฆ์ 10 ตัว
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 10 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันเสาร์ก็คือ ปางนาคปรก


พระราหู เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท บาปเคราะห์ ให้ผลในทาง ลุ่มหลงมัวเมา
พระประจำวันพุธกลางคืน พระราหูเป็นมิตรกับพระเสาร์และเป็นศัตรูกับพระพุธ
พระราหูถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 8 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากหัวกะโหลก 12 หัว
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 12 พระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพุธกลางคืนคือ ปางป่าเลไลย์


การบูชาเทพนพเคราะห์และพระประจำวันเกิด
พระประจำวันอาทิตย์ , พระประจำวันจันทร์ , พระประจำวันอังคาร
พระประจำวันพุธ , พระประจำวันพฤหัสบดี , พระประจำวันศุกร์ , พระประจำวันเสาร์ , พระประจำวันพุธกลางคืน พระราหู


---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม ----------------
หน้าแรก-องค์เทพ (สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง

, พระศิวะ พระอิศวร , พระราม รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค

พระแม่อุมาเทวี เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี ,
พระแม่สรัสวตี พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี ,
พระขันทกุมาร การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน ,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ

ท้าวจตุโลกบาล - เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ ,
ท้าวเวสสุวัณ ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี , พระแม่โพสพ

--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
,
ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก , เสาชิงช้า
,
พระพิฆเนศนครนายก พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
,
พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง 3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ

- พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
- พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
- พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
- รวมรูปองค์เทพ | - รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | - รวมความรู้การบูชาองค์เทพ

โครงการ "พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย

ศาลพระพิฆเณศวร์ เทวาลัยพระศิวะ วัดแขก โบสถ์พราหมณ์ เทวสถาน | เทวาลัยพระวิษณุ ศาลพระพรหม วัดแขก พระแม่อุมาเทวี

----------------- เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
- "คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์ วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
- "นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
- "มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
- "ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
- "พระราชพิธีตรียัมปวาย" งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์ แผนที่โบสถ์พราห์ม
, พระราชพิธีแรกนาขวัญ งานแรกนาขวัญ

[ การบูชาเทพเจ้า ]
- รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ


- ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
- เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา | - เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ

- สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์ | - ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
- ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
- ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก | - ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
- พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้ | - พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
- พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี | - อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
- คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก

- การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
- บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ | - พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
- พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ | - พญานาค การบูชาองค์พญานาค | - ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
- รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี การบูชาพระแม่อุมาเทวี | - องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
- พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ | - องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี

- ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
- การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า | - พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
- ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
- พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ | - การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
- เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม พระแม่กวนอิมปางต่างๆ

[ เรื่องร่างทรง ]
เรื่องร่างทรง 1 - เตือนใจเรื่องร่างทรง มารสังคมที่ต้องระวัง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 2 - คนมีองค์ กับ ร่างทรง ต่างกันอย่างไร ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 3 - ร่างทรงกำลังทรงเจ้า หรือกำลังโดนผีสิง ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 4 - การรับขันธ์ อันตรายถึงชีวิต! (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 5 - ตอบคำถามร่างทรง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ การทรงเจ้า องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 6 - ถอนขันธ์ ลาขันธ์ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้าองค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 7 - รวมข่าวร่างทรงถูกจับ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้า องค์เทพ)

[ พระศิวะมหาเทพ ]
1. ตำนานพระศิวะ | 2. รูปลักษณ์ แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ  |  3. เมล็ดรุทรักษะ เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4. โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ สัตว์ศักดิ์สิทธิ์  |  5. ศิวะนาฏราช พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6. ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ การบูชาศิวลึงค์  |  7. คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ

[ พระประจำวันเกิด , นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์ 
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์  , พระประจำวันเสาร์ พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ

รวมโองการเชิญเทพ / บทไหว้ครู / กลอนไหว้ครูของไทย
สำหรับผู้ศรัทธาในเทพทุกระดับชั้น เพื่อการบวงสรวงบูชาเทพในพิธีอันเป็นสิริมงคลต่างๆ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ ขอพรพระคเณศ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ บทเสมาสามัคคีเสวก
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 1
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 2
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 3
นมัสการเทพ (สามัคคีประเภทคำฉันท์)
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 1
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 2
เชิญเทพ - ร.6 (เสื้อเมือง หลักเมือง)
เชิญเทพ - รัชกาลที่ 6 (ทวยเทพ)
โองการเชิญเทพ - บวงสรวงท้าวโลกบาล
บทอัญเชิญเทพประจำเมือง



อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ และ นักเขียนหนังสือองค์เทพ







อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ Siamganesh.com
ผู้เผยแพร่ความรู้ในการบูชาองค์เทพคนสำคัญของไทย

สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่




สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่









สั่งซื้อหนังสือ
ผลงาน อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
คลิกที่นี่



ติดต่อสยามคเณศได้ที่ siamganesh@gmail.com
Facebook : สยามคเณศดอทคอม
Facebook : มหาบูชา
ขออำนาจแห่งพระพิฆเนศวรโปรดดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายล้วนประสบแต่ความสำเร็จในทุกๆประการด้วยเทอญ
สงวนลิขสิทธิ์ SiamGanesh.com, All Rights Reserved.