พระพิฆเณศ
รูปพระพิฆเนศ
คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรก
ตำนานพระพิฆเนศว่าด้วยเศียรของพระพิฆเนศ งาข้างเดียว และหนูบริวาร
ขอขอบคุณ - สยามรัฐออนไลน์
...พวกอสูรและรากษสได้ทำการบวงสรวงพระศิวะจนได้รับพรหลายประการ จึงเกิดความฮึกเหิมก่อความเดือดร้อนไปทั่ว ร้อนถึงพระอินทร์ต้องนำเทวดาทั้งหลายไปเฝ้าพระศิวะบ้าง ขอให้พระองค์ทรงสร้างเทพแห่งความขัดข้องขึ้น พระศิวะจึงทรงแบ่งกายส่วนหนึ่งให้บังเกิดในครรภ์ของพระแม่อุมาออกมาเป็นบุรุษรูปงามนาม วิฆเนศวร มีหน้าที่ขัดขวางเหล่าอสูรคนชั่วมิให้ทำการบัดพลีขอพรจากพระศิวะ

อีกทั้งให้เป็นผู้อำนวยความสะดวกแก่เทวดา และคนดีที่จะทำการใดๆ ให้ไปสู่ความสำเร็จ ดังนั้นชื่อ วิฆเนศวร จึงเป็นอีกพระนามของพระคเณศ

ก็มีเรื่องเล่าต่อมาว่าเมื่อพระคเณศมีอายุพอจะทำ พิธีโสกันต์ (โกนจุก) แล้ว พระศิวะก็ได้ให้เทวดาไปอัญเชิญพระนารายณ์หรือพระวิษณุที่บรรทมอยู่ ณ เกษียรสมุทรหรือทะเลน้ำนมมาร่วมพิธีด้วย ปรากฏว่าท่านกำลังหลับเพลินๆ พอถูกปลุกก็คงจะหงุดหงิด จึงพลั้งปากเปล่งวาจาว่า "ไอ้ลูกหัวหาย กวนใจจริง!!!!" ด้วยวาจาสิทธิ์เลยมีผลให้เศียรพระคเณศหลุดไปในทันใด !!!

พระศิวะจึงต้องมีเทวโองการให้เหล่าเทวดาไปหาหัวมนุษย์ที่เสียชีวิตมาต่อให้ แต่ปรากฏว่าวันนั้นกลับไม่มีใครตาย มีเพียงช้างที่นอนตายอยู่ทางทิศตะวันตกเท่านั้น เทวดาจึงต้องตัดหัวช้างมาต่อเศียรให้พระคเณศแทน ท่านเลยมีหัวเป็นช้างมาตั้งแต่บัดนั้น

-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ส่วนสาเหตุที่พระคเณศมีเพียงงาเดียวนั้น เล่ากันว่าถูกขวานของปรศุรามขว้างใส่ ซึ่งปรศุรามนี้เป็นพราหมณ์อวตารภาคหนึ่งของพระนารายณ์ และได้รับประทานขวานเพชรจากพระศิวะ ทำให้มีฤทธิ์เดชมาก ได้ใช้เทพศัตราวุธนี้ไปล้างแค้นแทนบิดามารดา รวมถึงไปปราบปรามเหล่ากษัตริย์ทั้งหลายจนสิ้นโลก

กระนั้นก็ดีพระวิษณุก็ได้มีเทวประกาศิต แบ่งกำลังของปรศุรามมาให้พระคเณศครึ่งหนึ่ง เพื่อมิให้มีกำลังมากเกินไป และใช้ไปในทางที่ไม่ควรอีก นอกจากให้กำลังแล้วท่านยังประกาศให้พระคเณศมีพระนามว่า เอกทันตะ คือผู้มีงาเดียว และว่านามนี้จะเป็นเครื่องประกาศคุณงามความดีที่ทรงเป็นลูกกตัญญูต่อบิดา รู้จักรักษาเกียรติบิดา และยังให้นามว่า พิฆเนศวร ซึ่งหมายถึงผู้ที่สามารถกำจัดอุปสรรคได้นานาประการ

รวมทั้งให้นามว่า สิทธิบดี หมายถึง เจ้าแห่งความสำเร็จ แต่ที่สำคัญคือให้พรแก่พระคเณศอีกว่า ในการประกอบพิธีกรรมทั้งปวง ท่านจงเป็นใหญ่เป็นประธาน ผู้กระทำพิธีกรรมใดๆ หากไม่เอ่ยนามท่าน ไม่สวดสรร เสริญท่านก่อน พิธีกรรมนั้นจะไร้ผล และล้มเลิกโดยสิ้นเชิง บุคคลใดสวดสดุดีท่านก่อนทำกิจกรรมใดๆ กิจกรรมของเขาจะลุล่วงเป็นผลสำเร็จโดยง่าย

ด้วยพรที่พระวิษณุ หรือพระนารายณ์ประทานแก่พระคเณศนี้เอง ทำให้ผู้คนทั้งหลายต่างพากันบูชา เพื่อความสำเร็จแห่งตน และนอกจากพระนามข้างต้นแล้ว พระคเณศยังมีอีกหลายพระนาม ซึ่งล้วนเรียกตามลักษณะของพระองค์ทั้งสิ้น เช่น อาขุรถ หมายถึงผู้ทรงหนูเป็นพาหนะ สัพโพทร หมายถึงผู้มีท้องย้อย และ ลัมพกรรณ หมายถึงผู้มีใบหูที่ใหญ่ อีกทั้งพระคเณศยังได้ชื่อว่า เทพแห่งปัญญา อีกด้วย

ทั้งยังได้รับการยกย่องให้เป็นหัวหน้าแห่งเทพที่มีเศียรเป็นสัตว์ทั้งหลายอีกด้วย และต่อมาก็ได้พัฒนาเรื่องราวจนกลายเป็นโอรสแห่งพระศิวะและพระแม่อุมาตามตำนานข้างต้น

ส่วน หนู นั้นน่าจะเกิดจากการที่สมัยก่อน คนประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นส่วนใหญ่ หนูชอบทำลายพืชพันธุ์ธัญญาหารจึงเป็นอุปสรรคต่ออาชีพและเป็นศัตรูอันดับหนึ่ง ดังนั้นการนำหนูมาเป็นพาหนะของเทพเจ้าที่ตนนับถือจึงเป็นการแสดงความมีอำนาจเหนือกว่า และมีนัยของการขจัดอุปสรรคไปในตัว

(ขอขอบคุณ - สยามรัฐออนไลน์)

รวมบทความน่าอ่านเกี่ยวกับพระพิฆเนศ



******** เรื่องน่ารู้เบื้องต้น ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู********

********การนับถือพระพิฆเนศ ต้นแบบในอินเดีย********



- สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ

- ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ

- ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวาร

- ตำนานพระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก

- ตำนานพระพิฆเนศในประเทศไทย

- พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้

- พระพิฆเณศในคติเทพเจ้าผู้บันดาลให้เกิดอุปสรรค!!!

- พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ

- พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี

- เทวปรัชญาของพระศรีคเณศ และพระสกันท์ (พระขันทกุมาร)


- เหตุใดจึงต้องเป็นช้าง? และเรื่องราวเกี่ยวกับช้างศักดิ์สิทธิ์

- อีกตำนานของ หนู พาหนะบริวารของพระพิฆเนศ

- อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ

- คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ

- สติปัญญา และไหวพริบของพระพิฆเนศ
จากเหตุการณ์ชิงผลมะม่วงและการอภิเษกสมรส


- อวตารทั้ง 8 ของพระคเณศ 

- เทพสุดฮ็อต..มหาเทพพิฆเนศ ความเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม

- องค์พระพิฆเนศที่แตกหักเสียหาย ควรทำอย่างไร?

- ความหลากหลายในการเผยแพร่พระพิฆเนศ

- วันสำคัญทางศาสนาพราหมณ์ นวราตรี วันสงกรานต์และวันอื่นๆ

- ควรบูชาพระพิฆเนศอย่างไร ?
คำแนะนำจากคุณปัณฑร ผู้อำนวยการพิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ


- ต้องอ่าน!! ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ
การถวายของ การบูชา การระลึกถึงเทพอย่างถูกต้อง


เรื่องร่างทรง 1 - เตือนใจเรื่องร่างทรง มารสังคมที่ต้องระวัง
เรื่องร่างทรง 2 - คนมีองค์ กับ ร่างทรง ต่างกันอย่างไร ?
เรื่องร่างทรง 3 - ร่างทรงกำลังทรงเจ้า หรือกำลังโดนผีสิง ?
เรื่องร่างทรง 4 - การรับขันธ์ อันตรายถึงชีวิต!
เรื่องร่างทรง 5 - ตอบคำถามร่างทรงโดย อ.กิตติ
เรื่องร่างทรง 6 - ถอนขันธ์ ลาขันธ์
เรื่องร่างทรง 7 - รวมข่าวร่างทรงถูกจับ
ทีมงานกำลังรวบรวมข้อมูลและเรียบเรียงเป็นบทความ
เพื่อเผยแพร่ให้ผู้อ่านได้มีความรู้ ระมัดระวังภัยประเภทนี้ต่อไป
หากท่านใดต้องการให้ข้อมูลเป็นวิทยาทาน โปรดติดต่อเราที่
siamganesh@gmail.com


---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม ----------------
หน้าแรก-องค์เทพ (สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง

, พระศิวะ พระอิศวร , พระราม รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค

พระแม่อุมาเทวี เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี ,
พระแม่สรัสวตี พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี ,
พระขันทกุมาร การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน ,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ

ท้าวจตุโลกบาล - เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ ,
ท้าวเวสสุวัณ ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี , พระแม่โพสพ

--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
,
ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก , เสาชิงช้า
,
พระพิฆเนศนครนายก พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
,
พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง 3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ

- พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
- พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
- พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
- รวมรูปองค์เทพ | - รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | - รวมความรู้การบูชาองค์เทพ

โครงการ "พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย

ศาลพระพิฆเณศวร์ เทวาลัยพระศิวะ วัดแขก โบสถ์พราหมณ์ เทวสถาน | เทวาลัยพระวิษณุ ศาลพระพรหม วัดแขก พระแม่อุมาเทวี

----------------- เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
- "คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์ วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
- "นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
- "มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
- "ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
- "พระราชพิธีตรียัมปวาย" งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์ แผนที่โบสถ์พราห์ม
, พระราชพิธีแรกนาขวัญ งานแรกนาขวัญ

[ การบูชาเทพเจ้า ]
- รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ


- ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
- เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา | - เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ

- สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์ | - ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
- ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
- ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก | - ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
- พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้ | - พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
- พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี | - อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
- คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก

- การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
- บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ | - พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
- พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ | - พญานาค การบูชาองค์พญานาค | - ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
- รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี การบูชาพระแม่อุมาเทวี | - องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
- พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ | - องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี

- ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
- การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า | - พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
- ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
- พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ | - การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
- เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม พระแม่กวนอิมปางต่างๆ

[ พระศิวะมหาเทพ ]
1. ตำนานพระศิวะ | 2. รูปลักษณ์ แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ  |  3. เมล็ดรุทรักษะ เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4. โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ สัตว์ศักดิ์สิทธิ์  |  5. ศิวะนาฏราช พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6. ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ การบูชาศิวลึงค์  |  7. คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ

[ พระประจำวันเกิด , นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์ 
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์  , พระประจำวันเสาร์ พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ

รวมโองการเชิญเทพ / บทไหว้ครู / กลอนไหว้ครูของไทย
สำหรับผู้ศรัทธาในเทพทุกระดับชั้น เพื่อการบวงสรวงบูชาเทพในพิธีอันเป็นสิริมงคลต่างๆ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ ขอพรพระคเณศ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ บทเสมาสามัคคีเสวก
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 1
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 2
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 3
นมัสการเทพ (สามัคคีประเภทคำฉันท์)
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 1
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 2
เชิญเทพ - ร.6 (เสื้อเมือง หลักเมือง)
เชิญเทพ - รัชกาลที่ 6 (ทวยเทพ)
โองการเชิญเทพ - บวงสรวงท้าวโลกบาล
บทอัญเชิญเทพประจำเมือง



อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ และ นักเขียนหนังสือองค์เทพ







อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ Siamganesh.com
ผู้เผยแพร่ความรู้ในการบูชาองค์เทพคนสำคัญของไทย

สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่




สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่









สั่งซื้อหนังสือ
ผลงาน อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
คลิกที่นี่



ติดต่อสยามคเณศได้ที่ siamganesh@gmail.com
Facebook : สยามคเณศดอทคอม
Facebook : มหาบูชา

ขออำนาจแห่งพระพิฆเนศวรโปรดดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายล้วนประสบแต่ความสำเร็จในทุกๆประการด้วยเทอญ
สงวนลิขสิทธิ์ SiamGanesh.com, All Rights Reserved.