ห่างจากตัวเมืองหนองคายไปทางโพนพิสัยราวสองถึงสามกิโลเมตร สถานที่แห่งหนึ่งที่ผู้คนนิยมไปเยือนกันทั้งในและนอกเทศกาลบั้งไฟพญานาค
ก็คือ ศาลาแก้วกู่
ศาลาแก้วกู่สร้างขึ้นโดยการนำของ ปู่บุญเหลือ สุรีรัตน์ หรือ
ปู่เหลือ (พ.ศ. ๒๔๗๖ ๒๕๓๙) ซึ่งมีประวัติชีวิตและผลงานอัศจรรย์
เกินกว่าจะประมวลได้ จึงขอเก็บความจากหนังสือ ศาลาแก้วกู่
ฉบับ พ.ศ. ๒๕๔๐ พิมพ์ครั้งที่ ๓ มาไว้พอสังเขป
เมื่อนางคำปลิว สุรีรัตน์ (พี่สาวคนโต) ชาวหนองคาย แต่งงานได้ระยะหนึ่งก็ฝันว่ามีชีปะขาวนำนาคมรกตมามอบให้
แต่บอกว่าอีก ๗ เดือนค่อยไปรับมาเป็นของตน ต่อมาแม่ตั้งท้องลูกคนที่เจ็ดในวัยสูงอายุและหมดประจำเดือนแล้ว
และคลอดเมื่ออายุครรภ์ได้ ๗ เดือน ทุกคนจึงเชื่อว่าเป็นไปตามนิมิตในฝัน
นางคำปลิวและสามีจึงรับน้องชายมาเลี้ยงเป็นบุตรบุญธรรมตั้งแต่แรกเกิด
ด.ช.บุญเหลือชอบเข้าวัดมาแต่เด็ก พออายุได้หกขวบนางคำปลิวเสียชีวิตลง
สามีนางคำปลิวมีภรรยาใหม่ ด.ช.บุญเหลือจึงกลับไปอยู่กับพ่อแม่ผู้ให้กำเนิด
แต่มักขัดขวางห้ามปรามผู้ใหญ่ในทางบาปต่างๆ จึงไม่เป็นที่รักใคร่ของญาติพี่น้อง
ครั้นอายุ ๑๒ ปี ทนความกดดันรอบข้างไม่ไหว จึงหนีออกจากบ้านรอนแรมไปจนพบสำนักอาศรมแก้วกู่ในเขตแดนลาวและได้ฝากตัว
ศึกษาเล่าเรียนปฏิบัติธรรมอยู่กับพระมุนีที่นั่น จนอายุครบ ๒๐
ปี พระมุนีจึงให้ออกจากสำนักไปจาริกแสวงบุญโปรดญาติโยมทั้งใกล้และไกล
เมื่ออายุ ๓๐ ปี จึงได้กลับมาปรนนิบัติตอบแทนคุณในวาระสุดท้ายของชีวิตพ่อแม่
ก่อนแม่สิ้นบุญในปี ๒๕๐๗ ได้มอบที่ดิน ๘ ไร่ ณ บ้านเชียงควาน
เมืองท่าเดื่อ เวียงจันท์ ไว้เป็นมรดก
ปี พ.ศ. ๒๕๑๓ ปู่เหลือได้พัฒนาที่ดินดังกล่าวสร้างเป็น ปูชนียสถานเทวาลัยอย่างมหึมา
พุทธศาสนิกชนทั้งในภาคพื้นยุโรปและเอเชียเลื่อมใสมาก แต่เมื่อเกิดเหตุวิกฤตในราชอาณาจักรลาวเมื่อปี
พ.ศ. ๒๕๑๘ หลวงปู่จึงพาลูกศิษย์ข้ามโขงมา และรวมกันจัดตั้งเป็น
พุทธมามกสมาคมจังหวัดหนองคาย โดยกรมการศาสนารับรองให้ในปี
พ.ศ. ๒๕๑๙
ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ สานุศิษย์ได้จัดซื้อที่ดินราว ๔๑ ไร่ ในเขตบ้านสามัคคี
ต.หาดคำ ถวายให้เป็นที่ตั้งสำนักจวบจนปัจจุบัน
ต้นปี พ.ศ.๒๕๒๗ ปู่เหลือถูกใส่ความและมีผู้ไปแจ้งตำรวจตั้งข้อหาฉกรรจ์
(ซึ่งทางสำนักขอสงวนไว้) ต้องอยู่ในเรือนจำจนถึงปลายปี ๒๕๒๙
เมื่อออกมาแล้วก็สร้างเทวรูปอีกมากมาย ทั้งเล็กและใหญ่ และทั้งขนาดที่สูงถึง
๓๓ เมตร เมื่อสร้างทั้งพุทธรูและเทวรูปถึง ๒๐๙ ปางแล้ว ก็สร้างศาลาแก้วกู่หลังใหม่โดยรื้อหลังเก่า
( พ.ศ.๒๕๒๓ ๒๕๓๘) ที่ทรุดโทรมลง ขณะก่อสร้างศาลาหลังใหม่ ปู่เหลือก็ล้มป่วยและต่อมาได้เสียชีวิตลงในเดือนสิงหาคม
๒๕๓๙ สานุศิษย์ได้นำผอบแก้วใส่ร่างของท่านไว้ตามความประสงค์ก่อนสิ้นชีวิต
สิ่งที่ ประจักษ์แก่สายตาเมื่อก้าวเข้าไปในมหัศจรรย์สถานแห่งนี้
นอกจากศาลาที่มีหลังคาเป็นรูปหมวก (หรือศิวลึงค์?!?) อันเป็นสถานที่จุดธูปเทียนบูชาแล้ว
ก็จะเห็นอาคารสูงหลายชั้นที่เรียกว่า ศาลาแก้วกู่ ใช้เป็นสำนักงาน
จัดเก็บประวัติและข้าวของสารพัดชนิด หรืออาจเรียกได้ว่าเป็นพิพิธภัณฑ์ขนาดย่อมก็ได้
พื้นที่กลางแจ้งหรือที่หลายคนยกให้เป็น พิพิธภัณฑ์กลางแจ้ง
มีสิ่งที่เรียกว่า ปูชนียวัตถุและพุทธปูชนียสถานเทวาลัย คือรูปปั้นพิสดารพันลึกมากมาย
อาทิ รูปปั้นปางพระอิศวร พระอุมาเสวยสุข ปางพระพุทธเจ้าเสด็จหนีออกบรรพชา
ปางทรงศึกษาที่ธรรมะกับพระฤาษี ปางกามเทพ (คิวปิต) ปางฤาษีแก้วกู่อะธามา
ปางพระขันทกุมาร ฯลฯ เมื่อสร้างเสร็จเรียบร้อยก็จะทำพิธีอัญเชิญเทพเทวามาสถิต
นอกจากนี้แล้ว ยังมีรูปปั้นเล่าเรื่องต่างๆ อีกมาก ทั้งรูปปั้นเกี่ยวกับศาสนาคริสต์
รามเกียรติ์ ตำนานพื้นบ้านเช่นท้าวฮุ่งท้าวเจือง รูปปั้นราหูอมจันทร์
ฯลฯ จนถึงปัจจุบันเมื่อรวมรูปปั้นทั้งเล็กใหญ่แล้วว่ากันว่ามีไม่น้อยกว่าหลัก
พัน ที่ฐานของเทวรูปและรูปปั้นต่างๆ จะมีคำบรรยายจารึกไว้ซึ่งมีทั้งภาษาไทย
ภาษาอีสาน และส่วนที่เรียกว่า ปริศนาธรรม บ้างคนนิยมมาเที่ยวชมที่นี่เหมือนมาเที่ยวชมภาพจำลองนรก-สวรรค์
และดินแดนรวมแห่งทุกศาสนา
ทั้งนี้ทางสำนักยังคงมีแผนจะดำเนินการก่อสร้างไปอีกเรื่อยๆ ตามกาลเวลาและศรัทธา
และตามคำสอนของปู่เหลือที่ว่าทุกศาสนาผสมผสานกันได้ และปรารถนาให้ที่แห่งนี้เป็น
เมืองอมตะแก้วกู่มหานิพพาน หรือดินแดนแห่งการหลุดพ้นจากกิเลสทั้งปวง
ชาวหนองคายหลายคนเรียกที่นี่ว่า วัดแขก คนไกลหลายคนอาจจะคุ้นชื่อ
ศาลาแก้วกู่ จากข่าวดังเมื่อต้นปี ๒๕๔๙ ที่มีเชื้อพระวงศ์เจ้าลาวและชายาถูกลอบสังหารขณะมาเที่ยวชมสถานที่นี้บ้าง
แล้ว
หากมีจังหวะและโอกาสแล้ว ควรไปดูให้เห็นกับตา โดยเฉพาะนักประวัติศาสตร์ศิลปะและผู้เชี่ยวชาญทางประติมานวิทยาทั้งหลาย
คงได้มุมมองนอกตำราที่คาดไม่ถึงเพิ่มขึ้นอักโข
ขอขอบพระคุณ : วารสารเมืองโบราณ
---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม
----------------
หน้าแรก-องค์เทพ
(สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม
ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ
พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง
, พระศิวะ
พระอิศวร , พระราม
รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ
ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ
พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค
พระแม่อุมาเทวี
เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี
เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา
เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ
การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี
เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี
,
พระแม่สรัสวตี
พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี
,
พระขันทกุมาร
การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน
พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน
,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
ท้าวจตุโลกบาล
- เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ
,
ท้าวเวสสุวัณ
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา
แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี
, พระแม่โพสพ
--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย
เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร
วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ
ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ
พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
, ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง
พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก
, เสาชิงช้า
, พระพิฆเนศนครนายก
พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
, พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา
พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี
สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ
สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร
ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง
3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ
-
พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
-
พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ
พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
-
พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย
อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
-
รวมรูปองค์เทพ | -
รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | -
รวมความรู้การบูชาองค์เทพ
โครงการ
"พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย
----------------- เทศกาล
งานสำคัญต่างๆ -----------------
-
"คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์
วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
-
"นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี
ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
-
"มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี
วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
-
"ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี
เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
-
"พระราชพิธีตรียัมปวาย"
งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์
แผนที่โบสถ์พราห์ม , พระราชพิธีแรกนาขวัญ
งานแรกนาขวัญ
[ การบูชาเทพเจ้า
]
-
รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ
-
ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
-
เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา
| -
เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ
-
สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์
| -
ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
-
ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
-
ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก |
-
ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
-
พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้
| -
พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
-
พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี
| -
อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
-
คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี
เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก
-
การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
-
บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ
| -
พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
-
พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ
| -
พญานาค การบูชาองค์พญานาค | -
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
-
รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี
การบูชาพระแม่อุมาเทวี | -
องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
-
พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ
ปางของพระวิษณุ | -
องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี
-
ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ
| -
พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | -
การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
-
การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า
| -
พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
-
ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
-
พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ
| -
การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
-
เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม
พระแม่กวนอิมปางต่างๆ
[ เรื่องร่างทรง
]
เรื่องร่างทรง
1 - เตือนใจเรื่องร่างทรง
มารสังคมที่ต้องระวัง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง
มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
2 - คนมีองค์
กับ ร่างทรง ต่างกันอย่างไร ? (รับขันธ์ ร่างทรง
ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
3 - ร่างทรงกำลังทรงเจ้า
หรือกำลังโดนผีสิง ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง
มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
4 - การรับขันธ์
อันตรายถึงชีวิต! (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์
คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
5 - ตอบคำถามร่างทรง
(รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ การทรงเจ้า
องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
6 -
ถอนขันธ์ ลาขันธ์ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง
มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้าองค์เทพ)
เรื่องร่างทรง
7 -
รวมข่าวร่างทรงถูกจับ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง
มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้า องค์เทพ)
[ พระศิวะมหาเทพ
]
1.
ตำนานพระศิวะ | 2.
รูปลักษณ์
แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ
| 3.
เมล็ดรุทรักษะ
เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4.
โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ
สัตว์ศักดิ์สิทธิ์
| 5.
ศิวะนาฏราช
พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6.
ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ
การบูชาศิวลึงค์
| 7.
คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ
[ พระประจำวันเกิด
, นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ
(พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร
,
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู
การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู
พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี
พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์
, พระประจำวันเสาร์
พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ
|
|
|