|
คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรกศาสนาพราหมณ์
ศาสนาฮินดู ประเทศอินเดีย พระศิวะ พระพรหม พระวิษณุ พระแม่อุมาเทวี |
อรรธนารีศวร ศิลปะชิ้นเยี่ยม
ของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี
(บทความจาก อนุสาร อ.ส.ท.)
สายสุนีย์ สิงหทัศน์...เรื่อง
เกรียงไกร เรือนแก้ว / ปิยะวรรณ ภักดีภูวดล...ภาพ |
ด้วยระยะเวลาอันยาวนานนับหลายพันปี ที่ดินแดนแถบถิ่นลุ่มแม่น้ำโขงได้สั่งสมอารยธรรมอันเก่าแก่สืบเนื่องติดต่อ
กันมาหลายยุคหลายสมัย จึงมีหลักฐานแห่งความยิ่งใหญ่ปรากฏอยู่เป็นจำนวนมาก
ไม่ว่าจะเป็นโบราณสถาน หรือโบราณวัตถุ กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปเกือบทุกจังหวัดในภาคอีสานและสถานที่ที่เก็บศิลป
สมบัติอันมีค่าเหล่านี้ไว้มากที่สุดก็คือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติของแต่ละ
จังหวัด อันเป็นที่รวมของศิลปะทุกแขนงตั้งแต่ยุคโบราณถึงยุคปัจจุบันนั่นเอง
พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติที่อนุสาร อ.ส.ท. ฉบับนี้จะพาไปเยี่ยมชมก็คือพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
อุบลราชธานี ซึ่งตั้งอยู่บริเวณถนนเขื่อนธานีตัดกับถนนอุปราช
ไม่ไกลจากทุ่งศรีเมืองนัก ตัวอาคารพิพิธภัณฑ์เป็นตึกชั้นเดียวยกพื้นสูง
ก่ออิฐฉาบปูน หลังคาทรงปั้นหยา เป็นอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าประกอบด้วยห้องโถงใหญ่อยู่ตรงกลาง
มีระเบียงทางเดินและห้องขนาดเล็กอยู่โดยรอบ เหนือกรอบประตูประดับด้วยไม้ฉลุลวดลายพรรณพฤกษา
เป็นอาคารเก่าแก่สร้างขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๖๑ ในสมัยรัชกาลที่
๖ บนที่ดินที่พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมหลวงสรรพสิทธิประสงค์
ข้าหลวงต่างพระองค์รัชกาลที่ ๕ สำเร็จราชการมณฑลลาวกาว
(มณฑลอีสาน) ประทับ ณ เมืองอุบลราชธานี และได้ใช้เป็นที่ทำการศาลากลางจังหวัดอุบลราชธานีอยู่ชั่วระยะเวลาหนึ่ง
จากนั้นทางจังหวัดได้มอบอาคารหลังนี้ให้กรมศิลปากรเพื่อใช้เป็น
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๖
|
กรมศิลปากรได้ดำเนินการบูรณะซ่อมแซมและจัดตั้งเป็นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
อุบลราชธานีขึ้น เพื่อสนองความต้องการของคนท้องถิ่นที่จะให้เป็นศูนย์ศึกษาอนุรักษ์และเผย
แพร่วัฒนธรรมท้องถิ่นตามแนวทางการพัฒนากิจกรรมพิพิธภัณฑ์สมัยใหม่
โดยจัดเป็นห้องนิทรรศการทั้งสิ้น ๑๐ ห้อง คือ ห้องแสดงข้อมูลทั่วไปของจังหวัดอุบลราชธานี
ห้องจัดแสดงภูมิศาสตร์ธรณีวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ห้องจัดแสดงสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ห้องจัดแสดงสมัยประวัติศาสตร์เริ่มแรกวัฒนธรรมทวารวดีและวัมนธรรมเจนละ
(ขอม หรือเขมรสมัยก่อนเมืองพระนคร) ระหว่างพุทธศตวรรษที่
๑๒-๑๕ ห้องจัดแสดงวัฒนธรรมขอม หรือเขมรสมัยเมืองพระนคร
ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๒๓-๒๕ ห้องจัดแสดงผ้าโบราณและผ้าพื้นเมืองอุบลราชธานี
ห้องจัดแสดงดนตรีพื้นเมือง และห้องจัดแสดงการปกครองและงานประณีตศิลป์เนื่องในพระพุทธศาสนา
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีได้เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นประธานพิธีเปิดเมื่อวันที่
๓๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๓๒
|
โบราณวัตถุชิ้นสำคัญในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติอุบลราชธานีมีอยู่ด้วยกันหลาย
ชิ้น เช่น เครื่องมือหินกะเทาะก่อนประวัติศาสตร์สมัยสังคมคนล่าสัตว์
อายุประมาณ ๑๒,๐๐๐-๗,๗๐๐ ปี ขวานหินขัดสมัยสังคมเกษตรกรรม
อายุประมาณ ๔,๐๐๐ ปี กลองมโหระทึก อายุประมาณ ๒,๕๐๐-๒,๑๐๐
ปี ใบหอกและหัวขวานสำริด อายุประมาณ ๑,๘๐๐-๑,๕๐๐ ปี
ศิลาจารึกปากแม่น้ำมูล อายุราวกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๒
พระพุทธรูปสมัยทวารวดี พระพุทธรูปศิลปะลาว ทับหลังศิลปะขอมที่มีลวดลายค่อนข้างสมบูรณ์
ธรรมาสน์ไม้ลงรักปิดทองประดับกระจก หีบพระธรรม กากะเยียและสัปคับที่แกะสลักลวดลายอย่างวิจิตรบรรจง
โบราณวัตถุชิ้นสำคัญและถือว่าเป็นศิลปะชิ้นเยี่ยมของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
อุบลราชธานี ก็คืออรรธนารีศวรที่ย้ายมาจากพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
พระนคร มาตั้งแสดงในห้องจัดแสดงสมัยปรัติศาสตร์เริ่มแรกวัฒนธรรมทวารวดีและวัฒนธรรม
เจนละ เพราะเป็นโบราณวัตถุที่ได้พบในจังหวัดอุบลราชธานี
อรรธนารีศวรเป็นประติมากรรมเนื่องในศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกาย
ที่สร้างขึ้นตามเรื่องราวระหว่างพระอุมาและฤาษีภิริงกิต
ผู้ซึ่งเคารพพระศิวะเพียงองค์เดียว ทำให้พระอุมาทรงพิโรธและสาปให้ร่างกายไร้เลือดเนื้อ
ต่อมาภายหลังพระนางทรงละอายต่อสิ่งที่ได้กระทำต่อฤาษีตนนี้
จึงคืนคำสาปและอธิษฐานขอให้พระวรกายของพระนางเข้าไปรวมเป็นส่วนหนึ่งขององค์
พระศิวะ
|
ลักษณะของประติมากรรมสลักเป็นรูปพระศิวะและพระอุมารวมเป็นองค์เดียวกัน
โดยภาพรวมมีขนาดความสูง ๖๘ เซนติเมตร ประทับนั่งขัดสมาธิราบบนฐานบัวหงาย
ยกพระกรทั้งสองข้างขึ้นเหนือพระเพลา พระ
หัตถ์หักหายไป พระพักตร์ค่อนข้างยาว พระเนตรที่สามปรากฏอยู่กึ่งกลางพระนลาฏ
พระเกศาเกล้าสูง ทรงกุณฑลขนาดใหญ่และพาหุรัดลายดอกไม้กรองศอเรียบและไม่มีลวดลาย
ลักษณะที่แตกต่างกันอย่างชัดเจนก็คือพระวรกายซีกขวามีลักษณะเป็นบุรุษเพศ
หรือพระศิวะ มีรูปพระจันทร์เป็นวงกลมติดอยู่บนพระเศียร
พระเกศาเป็นขมวดกลม มีไรพระมัสสุริมพระโอษฐ์ นุ่งผ้าสั้นเหนือพระชงฆ์
คาดเข็มขัดลายเชือกถัก มีบ่วงบาศคล้องที่พระหัตถ์
ส่วนพระวรกายซีกซ้าย หรือพระอุมาแสดงลักษณะกายวิภาคเป็นสตรีเพศ
ทรงทองพระกรและนุ่งผ้ายาวไปจดข้อพระบาท มีแนวชายผ้าพาดจากใต้พระเพลาไปยังข้อพระกร
คาดเข็มขัดลายลูกประคำ
อรรธนารีศวรรูปนี้สร้างในสมัยทวารวดีราวพุทธศตวรรษที่
๑๓ นับเป็นอรรธนารีศวรที่เก่าแก่ที่สุดรูปหนึ่งเท่าที่พบในเอเชียอาคเนย์
มีลักษณะค่อนข้างพิเศษทั้งด้านกายวิภาคและรายละเอียดของเครื่องประดับ
รวมทั้งอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ จึงนับเป็นศิลปะชิ้นเยี่ยมของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
อุบลราชธานีที่มีค่าและน่าหวงแหนอีกชิ้นหนึ่งของประเทศ
|
ที่มา : อนุสาร อ.ส.ท.
ปีที่ ๔๑ ฉบับที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๓ |
---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม
----------------
หน้าแรก-องค์เทพ
(สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม
ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ
พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง
, พระศิวะ
พระอิศวร , พระราม
รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ
ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ
พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค
พระแม่อุมาเทวี
เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี
เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา
เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ
การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี
เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี
,
พระแม่สรัสวตี
พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี
,
พระขันทกุมาร
การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน
พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน
,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ
ท้าวจตุโลกบาล
- เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ
,
ท้าวเวสสุวัณ
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา
แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี
, พระแม่โพสพ
--------- สถานที่ ศาล
เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร
วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ
ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ
พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
, ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง
พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก
, เสาชิงช้า
, พระพิฆเนศนครนายก
พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
, พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา
พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี
สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ
สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร
ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง
3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ
-
พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
-
พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม
พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
-
ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
-
พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย
อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
-
รวมรูปองค์เทพ | -
รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | -
รวมความรู้การบูชาองค์เทพ
โครงการ
"พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย
----------------- เทศกาล
งานสำคัญต่างๆ -----------------
-
"คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์
วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
-
"นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี
ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
-
"มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี
วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
-
"ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี
เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
-
"พระราชพิธีตรียัมปวาย"
งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์
แผนที่โบสถ์พราห์ม , พระราชพิธีแรกนาขวัญ
งานแรกนาขวัญ
[ การบูชาเทพเจ้า
]
-
รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ
วิธีบูชาองค์เทพ
-
ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
-
เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา
| -
เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ
-
สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์
| -
ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
-
ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
-
ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก
| -
ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
-
พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้
| -
พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
-
พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี
| -
อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
-
คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี
เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก
-
การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
-
บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ
| -
พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
-
พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ
| -
พญานาค การบูชาองค์พญานาค | -
ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
-
รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี
การบูชาพระแม่อุมาเทวี | -
องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
-
พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ
ปางของพระวิษณุ | -
องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี
-
ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ
| -
พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ |
-
การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
-
การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า
| -
พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
-
ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
-
พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ
| -
การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
-
เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม
พระแม่กวนอิมปางต่างๆ
[ พระศิวะมหาเทพ
]
1.
ตำนานพระศิวะ | 2.
รูปลักษณ์
แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ
| 3.
เมล็ดรุทรักษะ
เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4.
โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ
สัตว์ศักดิ์สิทธิ์
| 5.
ศิวะนาฏราช
พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6.
ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ
การบูชาศิวลึงค์
| 7.
คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ
[ พระประจำวันเกิด
, นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์
พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร
,
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู
การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู
พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี
พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด
พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์
, พระประจำวันเสาร์
พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ
|
|
|
|
|